Siemens Mobility and Consortium Partners Secure Important Rail Contracts in Thailand to Transform Public Transportation

ซีเมนส์ โมบิลิตี้และกลุ่มบริษัทพันธมิตร ได้รับการพิจารณาและลงนามในสัญญาสำคัญ ช่วยพลิกโฉมระบบขนส่งสาธารณะทางรางในประเทศไทย

Siemens Mobility and Consortium Partners Secure Important Rail Contracts in Thailand to Transform Public Transportation

  • Comprehensive turnkey contract for Orange Line to deliver 32 new trains and provide full-scale services from design to integration of mechanical and electrical systems and maintenance services.
  • Delivery of 21 new trains for Bangkok’s Blue Line including signaling upgrade to enhance headway, and maintenance services
  • Siemens Mobility to provide advanced signaling and telecommunications systems for enhancing intercity connectivity for Northern Thailand’s Railway

Siemens Mobility and its consortium partners Bozankaya and ST Engineering Urban Solutions (Thailand) Ltd. have recently secured significant rail contracts in Thailand, including the Metropolitan Rapid Transit (MRT) system in Bangkok, which covers the Orange Line and Blue Line. The contracts involve the delivery of a total of 53 new trains, along with the installation of technical equipment for signaling and maintenance services. Additionally, Siemens Mobility has been tasked with expanding intercity connectivity in Northern Thailand through the double-track railway project from Den Chai to Chiang Rai and Chiang Khong. These contracts mark a significant milestone for Siemens Mobility in Thailand. CH. Karnchang Public Company Limited and Bangkok Expressway and Metro Public Company Limited have been commissioning these projects with the goal of enhancing the efficiency, capacity, and sustainability of Bangkok’s public transportation network and Thailand’s mainline rail system. The various contracts include maintenance services will begin and conclude between 2024 and 2039.

“With over 30 years of trusted partnership in Thailand, we are delighted to continue to help Bangkok grow sustainably and shape travel in the country for generations to come. Our technology already reaches more than a million passengers in Bangkok every day, helping to reduce congestion and journey times. With 53 new trains, advanced signaling and telecommunication systems, and long-term maintenance services for the Orange Line, Blue Line, and mainline connections in the north of the country, even more people will be able to reach their destination quickly and emission-free,” said Mr. Michael Peter, CEO of Siemens Mobility.

Siemens Mobility to Deliver 32 New Trains and Integrated Systems for MRT Orange Line; Maintenance Services Ensured

Siemens Mobility, in collaboration with ST Engineering Urban Solutions Ltd. and Turkish railway manufacturer Bozankaya has secured a comprehensive turnkey contract for the Metropolitan Rapid Transit’s Orange Line in Bangkok. The contract involves the delivery of 32 three-car trains, along with the design, installation, and integration of mechanical and electrical systems covering a 35.9-kilometer route. The trains will serve both the east and west sections of the line, combining underground and elevated rail tracks. The scope of work includes delivering rolling stock, signaling systems, communications, platform screen doors, and passenger information systems, ensuring a fully integrated and high-performance transport solution. The new trains are designed with modern technology, spacious interiors, robust air conditioning, and enhanced information systems for passenger comfort. Furthermore, Siemens Mobility’s energy-efficient solutions align with Bangkok’s sustainability goals, reducing the overall carbon footprint of the Orange Line system. Additionally, Siemens Mobility has been awarded a long-term maintenance contract for the Orange Line, ensuring reliable and smooth operations for years to come.

Siemens Mobility Upgrades MRT Blue Line with 21 New Trains and Enhanced Signaling; Extended Maintenance Services Ensured

Siemens Mobility has secured a contract for MRT Blue Line upgrade project to supply 21 additional trains and enhance the line’s signaling and SCADA systems. With a total length of 48 kilometers and 38 stations, the Blue Line is a vital component of Bangkok’s transportation network. Siemens Mobility has been involved in the line’s development since 2002, supporting its expansion and modernization. Furthermore, Siemens Mobility will provide full-service maintenance for the additional trains as well as for critical systems such as rolling stock, signaling, communications, platform screen doors, power supply, ensuring the Blue Line’s efficiency and reliability until 2039.

Expanding Thailand’s Rail Connectivity on the Den Chai – Chiang Rai – Chiang Khong Line

Siemens Mobility has secured a contract to expand intercity rail connectivity in Thailand through a new double-track Den Chai – Chiang Rai – Chiang Khong project. The project comprises two segments, with the first segment covering the 132-km stretch from Ngao to Chiang Rai, including 11 stations. The second segment encompasses the 87-km stretch between Chiang Rai and Chiang Khong, with a total of seven stations. Siemens Mobility will deliver advanced signaling and telecommunications systems, including Centralized Traffic Control (CTC) and an Automatic Train Protection (ATP) system that complies with European Train Control System (ETCS Level 1) standards.

This signaling and telecommunications upgrade is part of a larger civil contract, which includes components such as the Trackguard Westrace MKII interlocking, Controlguide Rail9000 CTC/LCP system, ETCS L1, point machines, DC track circuits, and Clearguard ACM250 axle counters, with additional signaling components sourced locally. The majority of the engineering work will be conducted in Thailand, with support from Siemens’ experts in Spain, Australia, and Germany.

Siemens Mobility Enhancing Mobility for Everyone in Thailand

Siemens Mobility has a rich history of doing business in Thailand, spanning over 30 years. As a global leader in transport solutions, Siemens Mobility has established itself as a reliable and trusted partner in the country. The company’s track record includes significant contributions to Thailand’s transportation infrastructure, such as the development of Bangkok’s first elevated mass transit system in 1994 and the establishment of the initial subway line in 2004. “These successful projects have earned Siemens Mobility the trust and confidence of its partners, leading to long-lasting collaborations. Siemens Mobility is proud to be the chosen partner for Thailand’s railway network expansions and remains committed to delivering seamless, sustainable, reliable, and secure transport solutions for the country.” said Mr. Tomasz Mazur, CEO of Siemens Mobility in Thailand.

ซีเมนส์ โมบิลิตี้และกลุ่มบริษัทพันธมิตร ได้รับการพิจารณาและลงนามในสัญญาสำคัญ ช่วยพลิกโฉมระบบขนส่งสาธารณะทางรางในประเทศไทย

ซีเมนส์ โมบิลิตี้และกลุ่มบริษัทพันธมิตร ได้รับการพิจารณาและลงนามในสัญญาสำคัญ ช่วยพลิกโฉมระบบขนส่งสาธารณะทางรางในประเทศไทย

ซีเมนส์ โมบิลิตี้และกลุ่มบริษัทพันธมิตร ได้รับการพิจารณาและลงนามในสัญญาสำคัญ ช่วยพลิกโฉมระบบขนส่งสาธารณะทางรางในประเทศไทย

  • โครงการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จของระบบเครื่องกลและไฟฟ้าในโครงการรถไฟฟ้า MRT สายสีส้ม ครอบคลุมการส่งมอบขบวนรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้จำนวน 32 ขบวน รวมถึงการบูรณาการระบบเครื่องกลและไฟฟ้า พร้อมสัญญาซ่อมบำรุง
  • โครงการปรับปรุงรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน ครอบคลุมการส่งมอบรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้เพิ่มเติมจำนวน 21 ขบวน รวมถึงการปรับปรุงระบบเครื่องกลและไฟฟ้าเดิม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถี่การเดินรถพร้อมสัญญาซ่อมบำรุง
  • โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ สัญญาฉบับที่ 2 และ 3 ครอบคลุมการติดตั้งระบบอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคมขั้นสูงเพื่อเสริมการเชื่อมต่อระหว่างเมืองสำหรับระบบรถไฟภาคเหนือของประเทศไทย

เมื่อไม่นานนี้ กลุ่มบริษัทซีเมนส์ โมบิลิตี้ และกลุ่มบริษัทพันธมิตร บริษัท โบซานคายาและบริษัท เอสที เอ็นจิเนียริ่ง เออร์เบิน โซลูชั่นส์ (ประเทศไทย) จำกัด ได้รับคัดเลือกให้ดำเนินงานภายใต้สัญญาหลายฉบับในหลายโครงการสำคัญ ประกอบด้วยโครงการรถไฟฟ้า MRT สายสีส้มและสายสีน้ำเงินในกรุงเทพมหานคร สัญญาดังกล่าวครอบคลุมถึงการส่งมอบขบวนรถใหม่ทั้งหมด 53 ขบวน รวมถึงการปรับปรุงระบบอาณัติสัญญาณและการซ่อมบำรุง นอกจากนี้ ซีเมนส์ โมบิลิตี้ ยังได้รับมอบหมายให้ขยายการเชื่อมต่อระหว่างเมืองในภาคเหนือของประเทศไทยด้วยระบบอาณัติสัญญาณและระบบโทรคมนาคมผ่านโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ ถือว่าเป็นอีกก้าวสำคัญสำหรับซีเมนส์ โมบิลิตี้ในประเทศไทย โดยโครงการดังกล่าวได้รับการว่าจ้างจาก บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) (CK) และบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BEM) โดยมีระยะเวลาตั้งแต่ปี 2567 ถึงปี 2582 ซึ่งจะช่วยยกระดับประสิทธิภาพ พร้อมเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับผู้โดยสารและสร้างความยั่งยืนให้กับเครือข่ายการขนส่งสาธารณะทั้งในเมืองและระหว่างเมือง

นายไมเคิล ปีเตอร์ ประธานกรรมการฝ่ายบริหาร บริษัท ซีเมนส์ โมบิลิตี้ จำกัด ประเทศเยอรมนี กล่าวว่า ในฐานะพันธมิตรที่เชื่อถือได้ในประเทศไทยมายาวนานกว่า 30 ปี เรารู้สึกภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของกรุงเทพฯ และมีบทบาทในการสร้างสรรค์การเดินทางในประเทศไทยเพื่อคนรุ่นต่อไป เทคโนโลยีของเราในปัจจุบันได้ให้บริการแก่ผู้โดยสารมากกว่า ล้านคนในกรุงเทพฯ ทุกวัน ช่วยลดปัญหาความแออัดและเวลาการเดินทางในกรุงเทพฯ เป็นอย่างดี และด้วยขบวนรถไฟใหม่จำนวน 53 ขบวน ระบบสัญญาณและโทรคมนาคมที่ทันสมัย การบริการบำรุงรักษาระยะยาวสำหรับสายสีส้ม สายสีน้ำเงิน รวมถึงการเชื่อมต่อสายหลักทางตอนเหนือของประเทศ จะทำให้ผู้คนสามารถเดินทางถึงจุดหมายได้อย่างรวดเร็วและไร้การปล่อยก๊าซมลพิษมากขึ้น”

ซีเมนส์ โมบิลิตี้ จะส่งมอบรถไฟฟ้าใหม่ 32 ขบวนและระบบบูรณาการให้กับรถไฟฟ้า MRT สายสีส้ม พร้อมดูแลการซ่อมบำรุง

กลุ่มบริษัทซีเมนส์ โมบิลิตี้ และกลุ่มบริษัทพันธมิตร ประกอบด้วย บริษัท เอสที เอ็นจิเนียริ่ง เออร์เบิน โซลูชั่นส์ (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัทผู้ผลิตรถไฟ จากประเทศตุรกี บริษัท โบซานคายา ได้รับคัดเลือกให้ดำเนินงานภายใต้สัญญาโครงการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) รถไฟฟ้า MRT สายสีส้ม โดยสัญญาดังกล่าวครอบคลุมการส่งมอบขบวนรถไฟ 32 ขบวน 3 ตู้ รวมไปถึงการออกแบบ ติดตั้ง และบูรณาการระบบกลไกและไฟฟ้าที่ครอบคลุมเส้นทาง 35.9 กิโลเมตร โดยขบวนรถไฟฟ้าจะให้บริการทั้งฝั่งตะวันออกและตะวันตกของเส้นทาง ซึ่งมีระยะทางทั้งใต้ดินและทางยกระดับ ขอบเขตความรับผิดชอบในสัญญาฉบับนี้ครอบคลุมตั้งแต่การจัดหาตัวรถไฟ ระบบอาณัติสัญญาณ ระบบสื่อสาร ประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลา และระบบแสดงผลข้อมูลโดยสารรถไฟฟ้า เพื่อความมั่นใจว่าจะมอบโซลูชันการขนส่งจะที่มีประสิทธิภาพสูงและบูรณาการครบวงจร โดยขบวนรถไฟฟ้ารุ่นใหม่นี้มาพร้อมเทคโนโลยีที่ทันสมัย ​​ภายในกว้างขวาง ระบบปรับอากาศประสิทธิภาพสูง พร้อมระบบแสดงผลข้อมูลทันสมัย เพื่อให้ความสำคัญกับความสะดวกสบายของผู้โดยสาร นอกจากนี้ โซลูชันประหยัดพลังงานของ ซีเมนส์ โมบิลิตี้ ยังสอดคล้องกับเป้าหมายด้านความยั่งยืนของกรุงเทพฯ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนฯ โดยรวมของระบบรถไฟฟ้าสายสีส้ม ยิ่งไปกว่านั้นซีเมนส์ โมบิลิตี้ยังได้รับสัญญาบำรุงรักษาระยะยาวเพื่อการดำเนินงานของรถไฟฟ้าที่เชื่อถือได้และราบรื่นต่อไป

ซีเมนส์ โมบิลิตี้ เพิ่มศักยภาพ MRT รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ด้วยขบวนรถใหม่ 21 ขบวน พร้อมปรับปรุงระบบอาณัติสัญญาณและขยายบริการซ่อมบำรุงรักษาให้ยาวนานยิ่งขึ้น

ซีเมนส์ โมบิลิตี้ ยังได้รับสัญญาสำหรับโครงการปรับปรุงรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน จัดหาขบวนรถไฟฟ้าใหม่เพิ่มเติมจำนวน 21 ขบวน ขบวนละ ตู้ และการปรับปรุงระบบอาณัติสัญญาณและระบบตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Real-time (SCADA) ที่มีอยู่เดิมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ระยะห่างระหว่างขบวนรถ สำหรับรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินมีระยะทางรวม 48 กิโลเมตร และสถานีทั้งหมด 38 สถานี ถือเป็นส่วนสำคัญของเครือข่ายการขนส่งในกรุงเทพฯ ซึ่งซีเมนส์ โมบิลิตี้ มีบทบาทสำคัญพัฒนารถไฟฟ้าสายนี้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 โดยให้การสนับสนุนทั้งการขยายและปรับปรุงให้มีความทันสมัยมาโดยตลอด นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้เซ็นสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรสำหรับขบวนรถไฟใหม่ที่เพิ่มเติมมา รวมถึงการขยายสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรที่มีอยู่เดิม โดยมีขอบเขตการบริการครอบคลุมระบบสำคัญทั้งหมด ประกอบด้วยตัวรถไฟ ระบบอาณัติสัญญาณ ระบบสื่อสาร ประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลา ระบบจ่ายไฟ และระบบตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Real-time (SCADA) รวมถึงระบบแสดงข้อมูลโดยสารรถไฟฟ้าระบบการจัดการคลังสินค้า และศูนย์รับรายงานความบกพร่อง หรือ Fault Reporting Center ทั้งหมดนี้เพื่อตอกย้ำถึงความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ในการรับประกันว่ารถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินจะยังคงเป็นส่วนสำคัญที่มีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือของโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งสาธารณะในกรุงเทพฯ ไปจนถึงปี พ.ศ.2582

ขยายการเชื่อมต่อขนส่งระบบรางของประเทศไทยในเส้นทางเด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ

นอกเหนือจากโครงการรถไฟฟ้า MRT ในกรุงเทพฯ ซีเมนส์ โมบิลิตี้ยังได้รับสัญญาในการพัฒนาการเชื่อมต่อรถไฟระหว่างเมืองผ่านโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ โดยได้รับสัญญาในสองส่วน คือสัญญาที่ 2 (งาว – เชียงราย ระยะทาง 132 กิโลเมตร มี 11 สถานี) และในสัญญาที่ 3 (เชียงราย – เชียงของ ระยะทาง 87 กิโลเมตร มี สถานี) บริษัทฯ จะติดตั้งระบบอาณัติสัญญาณและระบบโทรคมนาคมที่ทันสมัยตลอดทั้งสาย ซึ่งรวมถึงระบบควบคุมอาณัติสัญญาณจากศูนย์กลาง (CTC) และระบบควบคุมรถไฟฟ้าอัตโนมัติ ที่เป็นไปตามมาตรฐานยุโรป ระดับที่ 1 (ETCS Level 1)

ระบบอาณัติสัญญาณและระบบโทรคมนาคมนี้เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาก่อสร้างทางรถไฟหลัก องค์ประกอบสำคัญในสัญญานี้ได้แก่ ระบบบังคับสัมพันธ์ Trackguard Westrace MKII, ระบบควบคุมอาณัติสัญญาณจากศูนย์กลาง (CTC) Controlguide Rail9000, จอควบคุมอาณัติสัญญาณจราจรโดยนายสถานีระบบ ETCS L1, ประแจสับรางระบบตรวจสอบตำแหน่งรถไฟโดยใช้วงจรไฟตอน, และเครื่องนับเพลา Clearguard ACM250 และมีอุปกรณ์ระบบอาณัติสัญญาณเพิ่มเติมที่จัดหาจากในประเทศ สำหรับงานวิศวกรรมส่วนใหญ่จะดำเนินการในประเทศไทย โดยได้รับการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญของซีเมนส์จากสเปน ออสเตรเลีย และเยอรมนี

การพัฒนาระบบขนส่งเพื่อทุกคนในประเทศไทย

ซีเมนส์ โมบิลิตี้ ในฐานะผู้นำระดับโลกด้านโซลูชันคมนาคมขนส่งทางราง ได้รับความไว้วางใจอย่างต่อเนื่องมายาวนานกว่า 30 ปี ผ่านการดำเนินโครงการสำคัญต่าง ๆ และการเป็นพันธมิตรที่เชื่อถือได้ในประเทศไทย ตั้งแต่โครงการระบบขนส่งมวลชนยกระดับแห่งแรกของกรุงเทพฯ ในปี พ.ศ.2537 จนถึงรถไฟฟ้าใต้ดินสายแรก (สายสีน้ำเงิน หรือสายเฉลิมรัชมงคล) ในปี พ.ศ.2547 นายโธมัสค์ มาซัวร์ ประธานกรรมการฝ่ายบริหาร บริษัท ซีเมนส์ โมบิลิตี้ จำกัด ประเทศไทย กล่าวว่า “โครงการที่ประสบความสำเร็จเหล่านี้ทำให้บริษัท ซีเมนส์ โมบิลิตี้ ได้รับความไว้วางใจและความเชื่อมั่นจากพันธมิตร ส่งผลให้เกิดความร่วมมือในระยะยาว บริษัทฯ มีความภาคภูมิใจที่ได้รับเลือกให้เป็นพันธมิตรในการขยายเครือข่ายรถไฟของประเทศไทย และจะยังคงมุ่งมั่นที่จะนำเสนอโซลูชันการขนส่งอย่างยั่งยืนแบบไร้รอยต่อ ที่เชื่อถือได้ กับประเทศไทยต่อไป

From space missions to smart factories

จากภารกิจห้วงอวกาศสู่โรงงานอัจฉริยะ

From space missions to smart factories

By Joseph Kong, Head of Digital Industries, Siemens Thailand

Personal computers, GPS, mobile phones, digital cameras, the internet: many of the technologies in our lives today are older than we might think. They originate from concepts from the 1960s and 70s – an enormously creative, innovative period.

Another innovation on everyone’s mind is the digital twin which many scientists and engineers today describe as the backbone of a new industrial revolution.  A digital twin is a virtual representation of a physical object. This digital counterpart enables real-time monitoring, diagnostics and predictive maintenance, which significantly increases operational efficiency.

Physical models of NASA spacecrafts – the precursors of digital twin

The initial idea of this technology has its origins in NASA – National Aeronautics and Space Administration space missions around 60 years ago. Space missions were expensive and risky, so people preferred to simulate on safe ground what they would have to be prepared for in space.

A simple idea was born, and this is still the key benefit of digital twin today. The term itself was only popularized late, in 2010 to be precise, by NASA´s Michael Grieves and John Vickers. Thereby marking its transition from a tool used in space exploration to an industrial revolution.

The rise of the digital twin and the IoT

If the digital twin is the backbone of the industry of the future, then data is the life blood of the digital twin. The more data, the more precise the digital representation and the more opportunities arise. IoT (Internet of Things) devices, which are being deployed everywhere in our world in exploding numbers, provide precisely this data, which is used intelligently for digital twin.

According to Statista, there are already 15.9 billion IoT devices in use worldwide, and this figure is expected to more than double by 2033. Many of these are already being used in industrial plants and production facilities enabling engineers to simulate every aspect in the virtual environment, from the products themselves to the machines and entire production lines.

Siemens drives the development forward since the early days

Siemens has played a significant role in space exploration through its software and digital solutions which have since found transformative applications in manufacturing.

In the 1970s, Siemens was already focusing on data processing technologies and since then its early technological advancements such as automation and control systems and digitalization laid the foundation for the technologies that power the IoT today. Digital twin technology was originally designed to simulate and monitor complex systems in space. By creating a digital replica of physical assets, engineers could predict how spacecraft components would respond to the extreme conditions of space.

Today, Siemens applies digital twin in manufacturing to optimize production lines, anticipate maintenance needs, and reduce downtime. By enabling virtual testing and refinement of systems, manufacturers can improve efficiency, reduce waste, and achieve high precision without risking costly real-world trial-and-error.

In 2012, Siemens collaborated with NASA on the Mars mission “Curiosity.” The company provided the software solutions that were used to develop, simulate, and test the Mars rover. In 2015, Siemens introduced the concept of digital twin for industrial use at Hannover Fair in Germany and presented the technology for different branches of industry, including the process industries and machine building.

The foundation of Industry 4.0 and the future of smart, sustainable factories

Digital twin is now at the heart of the much talked about Industry 4.0 – the culmination of the digitalization of industrial processes. Digital twin is not only relevant during ongoing operations, but also from the very first minute an idea or business model is created.

Today, a smart factory is first created as a digital twin and only much later in the real world. Precise simulations not only make it possible to avoid roadblocks and foresee dangers, but also to design all processes as efficiently as possible so that the factory of the future is not only productive, but above all highly sustainable.

And yet this is just the beginning: the combination of digital twin and AI will enable computers to independently design optimized products and processes and proactively support decision-makers in industries in their innovations and planning, operations and maintenance.

Combining the real and the digital worlds

The digital twin is a prime example of what it means to connect the real with the digital worlds to create a sustainable impact. By creating digital replicas of physical assets, businesses gain insights that allow them to optimize processes, predict challenges, and innovate responsibly.

For all, it is important to understand that physical reality and the human being at its center will always be the point of reference. Digitalization, like AI, is never a purpose, but no more but also no less than a powerful enabler to transform the everyday for the better.

Experience firsthand Siemens’ pioneering software solutions for aerospace industry at Thailand Space Week 2024 during 7-9 November 2024 at IMPACT Muang Thong Thani.

Organized by the Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (GISTDA) under the theme “Converging Technologies, Connecting People”, Siemens will showcase technology from the open digital business platform #SiemensXcelerator, including a comprehensive suite of software products supporting all areas of aerospace development, from System Design, Simulation & Testing, and Product Lifecycle Management (PLM) to Manufacturing Process Management, under the Model-Based Systems Engineering (MBSE) and Digital Threads concepts. These solutions play a vital role in linking every step from design to production in satellite systems and space technology development.

จากภารกิจห้วงอวกาศสู่โรงงานอัจฉริยะ

จากภารกิจห้วงอวกาศสู่โรงงานอัจฉริยะ

จากภารกิจห้วงอวกาศสู่โรงงานอัจฉริยะ

โดย โจเซฟ คง หัวหน้ากลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมดิจิทัล ซีเมนส์ ประเทศไทย

คอมพิวเตอร์, ระบบนำทาง GPS, โทรศัพท์มือถือ, กล้องดิจิทัล, อินเทอร์เน็ต และอีกหลากหลายเทคโนโลยีที่เราใช้ในชีวิตประจำวันวันนี้ แท้จริงแล้วมีอายุมากกว่าที่เราคิด แนวคิดของเทคโนโลยีเหล่านี้เริ่มขึ้นตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1960 และ 1970 ซึ่งเป็นยุคแห่งการสร้างนวัตกรรม

นวัตกรรมหนึ่งในนั้นก็คือเทคโนโลยีดิจิทัลทวิน (Digital Twin) ที่นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรในปัจจุบันมองว่าเป็นหัวใจสำคัญของการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งใหม่ โดย Digital Twin คือการสร้างคู่แฝดดิจิทัลของวัตถุทางกายภาพ ซึ่งการมีคู่แฝดดิจิทัลนี้ทำให้เราสามารถติดตาม ตรวจสอบ วินิจฉัยการทำงานของอุปกรณ์และระบบต่างๆ อีกทั้งสามารถคาดการณ์การบำรุงรักษาได้แบบเรียลไทม์ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญ

แบบจำลองทางกายภาพของยานอวกาศ NASA คือ จุดเริ่มต้นของ Digital Twin

แนวคิดเริ่มต้นของ Digital Twin มีรากฐานมาจากภารกิจในอวกาศขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติหรือ ‘นาซ่า’ (NASA) เมื่อประมาณ 60 ปีที่แล้ว เนื่องด้วยการปฏิบัติภารกิจในอวกาศมีค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงสูงมาก ดังนั้นการจำลองสถานการณ์บนพื้นโลกเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเผชิญสถานการณ์จริงในอวกาศจึงเป็นภารกิจที่สำคัญ

แนวคิดที่เรียบง่ายนี้ยังคงเป็นประโยชน์หลักของ Digital Twin ในปัจจุบัน โดยคำว่า “Digital Twin” ได้เป็นที่แพร่หลายและรู้จักมากขึ้นใน ค.ศ. 2010 โดย Michael Grieves และ John Vickers จาก NASA และเป็นจุดเปลี่ยนจากเทคโนโลยีที่ใช้เฉพาะในการสำรวจอวกาศสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรม

การเติบโตของ Digital Twin และ IoT

หาก Digital Twin เป็นหัวใจสำคัญของการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งใหม่ ข้อมูล (Data) ก็เปรียบเสมือนเส้นเลือดที่ไปหล่อเลี้ยง Digital Twin ยิ่งมีข้อมูลมากการจำลองก็ถูกต้องและแม่นยำยิ่งขึ้น การเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดของการใช้อุปกรณ์ IoT (Internet of Things) ทั่วทุกมุมโลก ยิ่งเสริมสร้างการเติบโตของการใช้ Digital Twin จากข้อมูลของ Statista พบว่ามีอุปกรณ์ IoT ที่ใช้อยู่ในการงานทั่วโลกถึง 18 พันล้านเครื่องในปี 2024 และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่าสองเท่าภายในปี 2033 โดยอุปกรณ์ IoT เหล่านี้จำนวนมากถูกนำไปใช้ในโรงงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคการผลิต ซึ่งช่วยให้วิศวกรสามารถจำลองกระบวนการการทำงานทุกแง่มุมในสภาพแวดล้อมดิจิทัลเสมือนจริง ตั้งแต่ตัวผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรไปจนถึงสายการผลิตทั้งหมด

ซีเมนส์กับการขับเคลื่อนการพัฒนา IoT และ Digital Twin

ซีเมนส์ได้ให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูลตั้งแต่ทศวรรษ 1970s และได้มีบทบาทสำคัญในภารกิจสำรวจอวกาศผ่านซอฟต์แวร์และโซลูชันดิจิทัล ซึ่งต่อมาได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้และสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในภาคการผลิต การพัฒนาทางเทคโนโลยี เช่น ระบบอัตโนมัติและระบบควบคุม และระบบดิจิทัล (Digitalization) ในยุคเริ่มแรกได้กลายเป็นรากฐานสำหรับเทคโนโลยีที่ขับเคลื่อน IoT ในปัจจุบัน

ด้านเทคโนโลยี Digital Twin นั้นเริ่มแรกถูกออกแบบมาเพื่อจำลองและติดตามระบบที่มีความซับซ้อนในกิจการอวกาศ โดยการสร้างคู่แฝดดิจิทัลของวัตถุทางกายภาพทำให้วิศวกรสามารถคาดการณ์ได้ว่าส่วนประกอบของยานอวกาศจะตอบสนองต่อสภาพสุดขั้วในอวกาศอย่างไร  ปัจจุบัน ซีเมนส์ได้นำ Digital Twin มาใช้ในภาคการผลิต ด้วยความสามารถในการทดสอบและปรับปรุงระบบอย่างมีความแม่นยำสูงในโลกเสมือนก่อนปฏิบัติจริงทำให้ผู้ประกอบการสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของสายการผลิต คาดการณ์ความต้องการการบำรุงรักษาของเครื่องจักรและอุปกรณ์ ลดเวลาในการหยุดทำงาน (downtime) และลดของเสีย โดยไม่ต้องเสี่ยงกับการทดลองที่มีค่าใช้จ่ายสูงในโลกจริง

ในปี 2012 ซีเมนส์ได้ร่วมมือกับ NASA ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร “Curiosity” โดยบริษัทฯ ได้จัดหาโซลูชันซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนา จำลอง และทดสอบยานสำรวจดาวอังคาร ต่อมาในปี 2015 ซีเมนส์ได้นำเสนอแนวคิด Digital Twin สำหรับใช้งานภาคอุตสาหกรรมที่งาน Hannover Messe ประเทศเยอรมนี พร้อมนำเสนอเทคโนโลยีสำหรับอุตสาหกรรมในสาขาต่างๆ รวมถึงอุตสาหกรรมการผลิตแบบต่อเนื่องและการสร้างเครื่องจักร

รากฐานของอุตสาหกรรม 4.0 และอนาคตของโรงงานอัจฉริยะที่ยั่งยืน

ปัจจุบัน Digital Twin เป็นหัวใจของการเปลี่ยนผ่านกระบวนการอุตสาหกรรมไปสู่ยุคดิจิทัลหรืออุตสาหกรรม 4.0  Digital Twin ไม่เพียงมีประโยชน์ในขั้นตอนกระบวนการดำเนินงาน แต่มีประโยชน์อย่างมากนับตั้งแต่เกิดไอเดียหรือโมเดลธุรกิจขึ้น

วันนี้การสร้างโรงงานอัจฉริยะจะเกิดในรูปแบบ Digital Twin ก่อนแล้วจึงค่อยก่อสร้างเป็นโรงงานจริงภายหลัง โดยการจำลองที่แม่นยำนี้ไม่เพียงช่วยเลี่ยงอุปสรรคที่อาจเกิดและเสริมสร้างความปลอดภัย แต่ยังช่วยในการออกแบบกระบวนการทั้งหมดให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อสร้างโรงงานแห่งอนาคตที่ให้ผลผลิตสูงและมีความยั่งยืน

นี่เป็นเพียงจุดเริ่มต้น ต่อไปการผสมผสานเทคโนโลยี Digital Twin กับ AI จะช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการที่เหมาะสมได้อย่างอิสระ ซึ่งจะสนับสนุนผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรม วางแผน ดำเนินงาน และการบำรุงรักษาต่างๆ

การผสานโลกจริงและโลกดิจิทัลเข้าด้วยกัน

Digital Twin เป็นตัวอย่างของการเชื่อมต่อโลกจริงกับโลกดิจิทัลเพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ยั่งยืน ด้วยการสร้างคู่แฝดดิจิทัลของวัตถุทางกายภาพ ธุรกิจจะได้ข้อมูลเชิงลึกที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน คาดการณ์ความท้าทายที่อาจเกิดขึ้น และสร้างนวัตกรรมอย่างมีความรับผิดชอบ

สิ่งสำคัญที่เราต้องตระหนักคือ โลกของความเป็นจริงและผู้คนยังคงเป็นศูนย์กลางของการตัดสินใจในการใช้เทคโนโลยีอยู่เสมอ เทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง AI หรือเทคโนโลยีอื่นๆ ไม่ใช่จุดมุ่งหมายสุดท้ายในตัวมันเอง แต่จะเป็นเครื่องมือที่ทรงพลังที่จะช่วยให้โลกยั่งยืนและยกระดับชีวิตประจำวันของผู้คนให้ดียิ่งขึ้น

พบกับซีเมนส์ที่งาน #ThailandSpaceWeek 2024 ในวันที่ 7 – 9 พฤศจิกายน 2567 ที่อิมแพค เมืองทองธานี ภายใต้แนวคิด “Converging Technologies, Connecting People”  โดยซีเมนส์ได้นำเทคโนโลยีจากแพลตฟอร์มธุรกิจดิจิทัลแบบเปิด #SiemensXcelerator ร่วมจัดแสดง

ที่งาน #ThailandSpaceWeek 2024 ซึ่งจัดโดยสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ #GISTDA ซีเมนส์จะนำเทคโนโลยีซึ่งครอบคลุมถึงชุดผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ที่รองรับการพัฒนากิจการอวกาศทุกด้าน ตั้งแต่การออกแบบเชิงระบบ (System Design), การทดสอบและจำลอง (Simulation & Testing), การบริหารวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (PLM – Product Lifecycle Management) ไปจนถึงการจัดการกระบวนการผลิต (Manufacturing) ภายใต้แนวคิด Model-Based Systems Engineering (MBSE) และ Digital Threads ที่มีบทบาทสำคัญในการเชื่อมโยงทุกขั้นตอนเข้าด้วยกันตั้งแต่การออกแบบไปจนถึงการผลิตของการพัฒนาระบบดาวเทียมและเทคโนโลยีอวกาศ

World Economic Forum: Siemens factory in Erlangen named Digital Lighthouse Factory

โรงงานซีเมนส์ใน Erlangen ได้รับเลือกให้เป็น Digital Lighthouse Factory จาก World Economic Forum

World Economic Forum: Siemens factory in Erlangen named Digital Lighthouse Factory

  • World Economic Forum’s Global Lighthouse Network honors leading manufacturing sites
  • AI, digital twin, and robotics have increased productivity at Erlangen factory by 69 percent and reduced energy consumption by 42 percent
  • Successful launch of in-house semiconductor production for high-performance frequency converters

The World Economic Forum (WEF) has announced that the Siemens factory in Erlangen, Germany, will become a Digital Lighthouse Factory, part of its the Global Lighthouse Network. The award recognizes leading technology companies that are at the forefront of applying fourth industrial revolution technologies. By following the Green Lean Digital approach, which combines innovative technologies and sustainable practices, the plant has made significant progress, increasing productivity by 69 percent and reducing energy consumption by 42 percent in four years.

Siemens announced last year that it would invest €500 million in research and infrastructure in Erlangen, establishing the site as a global research and development hub and as a nucleus for global technology activities for the industrial metaverse. The Siemens plant in Erlangen is already the third Siemens manufacturing site to be recognized by the WEF as one of the most modern factories in the world, following in the footsteps of Amberg, Germany, and Chengdu, China. 

“All good things come in threes. Following recognitions for Amberg and Chengdu, this award highlights the inventiveness of our Erlangen team. By utilizing technologies like AI, digital twin, and robotics, we have increased productivity by 69 percent, cut energy consumption by 42 percent, and are creating a blueprint for the industrial metaverse,” said Cedrik Neike,  of Siemens AG and CEO of Digital Industries. “This acknowledgement motivates us to continue our own sustainability efforts and to help our customers become more resilient and sustainable.”

Innovative technologies and sustainable practices

By deploying AI across more than 100 use cases and using the power of digital twin, the plant has made significant advances in enhancing the efficiency of its production. In addition, the plant has implemented innovative approaches to waste reduction, making optimal use of resources and minimizing its environmental impact. 

The Siemens factory in Erlangen aims to “become the leading supplier of power electronics for the energy transition,” says Site Manager Stephan Schlauss. “This award recognizes the commitment of all our employees in recent years. It’s also an incentive for us to never rest on our laurels, but to improve even more.” 

The factory convinced the WEF’s jury with five specific use cases of digital technologies in a manufacturing environment. A notable example is the in-house semiconductor production project. A clean-room production facility was built in just 11 months to produce semiconductors for the latest generation of the SINAMICS frequency converter. Thanks to its end-to-end data analytics platform, space requirements were reduced by 50 percent and material consumption by 40 percent, while still maintaining a high performance and improving energy efficiency. A special energy management system reduced energy consumption by over 50 percent.