Top 6 predictions for the food and beverage industry in 2023

Supply Chain’s Wild Ride Continues

Top 6 predictions for the food and beverage industry in 2023

Expect rising automation and deployment of AI/ML, supply chain agility & cost, food innovation, and demand for consumer transparency and sustainability

By Terry Smagh, Senior Vice President and General Manager for Asia Pacific and Japan, Infor

As we roll into 2023, the food & beverage industry will explore new avenues for products, sourcing, and technology to become better equipped for the unexpected. The industry has been greatly affected by consumer preferences in the past decade, which has catalyzed and pushed businesses to innovate quickly. Food & beverage organizations will further lean on cloud-based solutions to get to the next level in 2023 and will scale their businesses to meet consumer demand while addressing the pressures of supply chain instability and climate change. 

Anticipated trends and predictions that food & beverage organizations should consider in 2023 include:

    1. Supply chain agility & cost: Disruption is the new normal. An unpredictable future is the only certainty we know for the global supply chain. Coupled with the inflation of commodity prices and other external factors such as geopolitical tensions and the global chip shortage, the food & beverage supply chain needs agility in planning to spot issues sooner and meet demand. Food manufacturers need to be agile and plan for the unexpected with frequent changes in demand and supply and keep a close eye on its impact on production. Food & beverage businesses will diversify their raw material and supplier options further in 2023 to make up for supply disruptions. Organizations will need to meet demand as accurately as possible to ensure smooth operations and optimize production.
    2. Manufacturing automation: Undoubtedly, the global labor shortage has become a post-pandemic issue affecting the output of the food & beverage industry. The new generation of workers is not looking for life-long employment and is interested in careers that align with their values. Given the pressure to maintain supply with heightened demand, food & beverage organizations will need to invest in Industry 4.0 technologies to make up for the lack of employees. An example is using image recognition with machine learning (ML) so robots can automate labor-intensive tasks that previously required human eyes and decisions, such as in sorting, grading, cutting, and slicing. Food and beverage organizations that embrace these new technologies sooner will likely become the future leaders.
    3. Rise of artificial intelligence & ML: Artificial intelligence (AI) and machine learning (ML) solutions will be more heavily adopted for businesses in the cloud. For example, a dairy company implemented a machine learning model that optimizes the yield and minimizes waste in cheese making. In the past, the company could only analyze production output and a few contributing parameters such as protein, butterfat, and temperature looking backwards, which was too late to improve the yield. Today, the dairy can adjust the process continuously, considering many more contributing parameters. A 1 percent improvement in yield already equals $500,000 of cost savings. We will see more of these smart cost-saving use cases being implemented next year.
    4. Accelerated food innovation: Swapping out ingredients, sourcing from alternative suppliers, and decreasing pack sizes because of shortages and price increases will be a top trend. Besides that, true food innovation is becoming the new norm. Many startups in alternative proteins, lab-grown meats or synthetic dairy will be scaling up rapidly thanks to consumer adoption and the willingness of large food companies to invest in these innovations. There is also accelerated speed of product innovation to respond to consumers request, introduce different packaging sizes, to swap ingredients, or to source from alternative suppliers.
    5. Consumer transparency: Consumers are looking to learn more about the product, e.g., where is it from, are farmers and animals treated well, environmental impact, what are the functional benefits, etc. There is an ask from consumers but also an opportunity for food and beverage processors to tell their story with smart packaging showing traceability, freshness, etc., but also to connect and interact with the consumer in a digital way. There is a wealth of data that can be collected and analyzed, and then used in improving existing products and/or for new product innovation.
    6. Sustainability and transparency: As climate change becomes a more imminent threat, the food and beverage industry will undoubtedly be affected. Organizations will need to consider alternative local sourcing for products and lean into machine learning for energy, water, and food waste reduction. Within manufacturing, businesses primarily reduce waste (water, energy, food), as well as extending up and downstream the supply chain, e.g., farming practices, certifications, transportation. It’s important to evaluate suppliers based on total carbon footprint, i.e., within manufacturing and in transportation. Sourcing locally is not only about supporting the community but overall reducing the larger carbon footprint. For businesses to be more sustainable with packaging, the use of more environmentally friendly, reusable or even edible options can reduce waste and a carbon footprint. Full supply chain transparency will continue to be top of mind, as governmental and public pressures push organizations to share their progress on sustainability and transparency.

Learn more about how we deliver cloud-based software innovation to food and beverage businesses.

 

Infor คาดการณ์แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มในปี 2566

Supply Chain’s Wild Ride Continues

Infor คาดการณ์แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มในปี 2566

จะมีการใช้ระบบอัตโนมัติและการปรับใช้ AI/ML, ความคล่องตัวและต้นทุนของซัพพลายเชน, นวัตกรรมด้านอาหาร และความต้องการของผู้บริโภคในด้านความโปร่งใสและความยั่งยืนเพิ่มมากขึ้น

บทความโดย นายเทอร์รี สมา, รองประธานอาวุโสและผู้จัดการทั่วไป ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและญี่ปุ่น, อินฟอร์

ในปี 2566 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มต่างพากันแสวงหาช่องทางใหม่ ๆ สำหรับผลิตภัณฑ์ การคัดเลือกซัพพลายเออร์เพื่อสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ รวมถึงเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อให้ธุรกิจมีความพร้อมมากขึ้นสำหรับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด  ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา อุตสาหกรรมฯ ได้รับผลกระทบอย่างหนักจากความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งได้กระตุ้นและผลักดันให้ธุรกิจต้องเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว  ในปีนี้บริษัทอาหารและเครื่องดื่มจะยังคงพึ่งพาโซลูชันคลาวด์เพื่อทำให้สถานการณ์ต่าง ๆ ดีขึ้น และจะขยายธุรกิจเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ในขณะเดียวกันก็ต้องรับมือกับแรงกดดันจากความไม่แน่นอนของซัพพลายเชนและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศด้วย

แนวโน้มและการคาดการณ์ในปี 2566 ที่บริษัทอาหารและเครื่องดื่มควรคำนึงถึง ได้แก่:

    1. ความคล่องตัวและต้นทุนของซัพพลายเชน: การเปลี่ยนแปลงคือเรื่องปกติ  สิ่งที่แน่นอนเพียงหนึ่งเดียวสำหรับซัพพลายเชนทั่วโลกคืออนาคตที่ไม่สามารถคาดเดาได้  กอปรกับราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่เพิ่มสูงขึ้นและปัจจัยภายนอกอื่น ๆ เช่น ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์และการขาดแคลนชิปทั่วโลก ซัพพลายเชนด้านอาหารและเครื่องดื่มจึงต้องมีความคล่องตัวในการวางแผน เพื่อให้สามารถตรวจพบปัญหาได้ตรงจุดตั้งแต่เนิ่น ๆ  อีกทั้งยังต้องยืดหยุ่นและมีแผนรับมือกับสิ่งที่อาจเกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดจากความผันผวนด้านอุปสงค์และอุปทานที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง รวมทั้งต้องคอยจับตาดูผลกระทบที่เกิดกับการผลิตอย่างใกล้ชิด  สำหรับปี 2566 นี้ ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มจะเพิ่มทางเลือกด้านวัตถุดิบและซัพพลายเออร์มากขึ้น เพื่อชดเชยกับการหยุดชะงักของอุปทาน  ดังนั้น องค์กรจะต้องตอบสนองความต้องการให้ถูกต้องแม่นยำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อให้มั่นใจในการดำเนินงานที่ราบรื่นและประสิทธิภาพสูงสุดในการผลิต
    2. ระบบอัตโนมัติสำหรับการผลิต: แน่นอนว่าการขาดแคลนแรงงานทั่วโลกได้กลายเป็นปัญหาหลังการแพร่ระบาดที่ส่งผลกระทบต่อผลผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  เนื่องจากแรงงานรุ่นใหม่สนใจอาชีพที่ตอบโจทย์ความต้องการของตนมากกว่าการจ้างงานตลอดชีพ  อนึ่ง จากแรงกดดันที่ต้องรักษาอุปทานให้สอดคล้องกับอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้น บริษัทอาหารและเครื่องดื่มจะต้องลงทุนในเทคโนโลยี Industry 4.0 เพื่อทดแทนแรงงานที่ขาดแคลน เช่น การใช้แมชชีนเลิร์นนิง (ML) ในการจดจำภาพ (image recognition) เพื่อให้กระบวนการต่าง ๆ ซึ่งเดิมต้องใช้พนักงานจำนวนมากในการตรวจคัดเลือกสามารถดำเนินการได้โดยอัตโนมัติ เช่น ในการคัดแยกขนาด,การคัดคุณภาพ, การตัดชิ้นและการฝาน เป็นต้น  บริษัทอาหารและเครื่องดื่มที่นำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เหล่านี้มาใช้ก่อนก็มีแนวโน้มจะขึ้นแท่นครองตลาดได้ในอนาคต
    3. การใช้ AI และ ML เพิ่มขึ้น: ธุรกิจที่ใช้คลาวด์จะนำปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) และแมชชีนเลิร์นนิง (Machine Learning: ML) มาใช้งานเพิ่มขึ้นอีกมาก เช่น บริษัทที่ทำผลิตภัณฑ์จากนมแห่งหนึ่งได้นำแมชชีนเลิร์นนิงมาใช้งาน เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดของเสียในการผลิตชีสให้เหลือน้อยที่สุด  ในอดึตเมื่อเกิดปัญหา บริษัทฯ ทำได้เพียงย้อนกลับไปตรวจสอบผลผลิตและพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้องไม่กี่ชนิด เช่น โปรตีน ไขมันเนย และอุณหภูมิ ซึ่งก็สายเกินไปแล้วที่จะปรับปรุงผลผลิตให้ดีขึ้น  ทว่าทุกวันนี้ บริษัทที่ทำผลิตภัณฑ์จากนมสามารถใช้พารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้องอีกมากมายมาปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตได้อย่างต่อเนื่อง โดยอัตราผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น 1% จะประหยัดค่าใช้จ่ายของบริษัทได้ถึง 500,000 เหรียญสหรัฐฯ และเราจะได้เห็นวิธีการประหยัดค่าใช้จ่ายอย่างชาญฉลาดเหล่านี้มากขึ้นในปีหน้า
    4. เร่งความเร็วนวัตกรรมด้านอาหาร: การเปลี่ยนแปลงส่วนผสม การจัดหาจากซัพพลายเออร์รายอื่น ตลอดจนการลดขนาดบรรจุภัณฑ์เพื่อรองรับการขาดแคลนและการปรับขึ้นราคาจะเป็นเทรนด์ใหม่ที่ได้รับความนิยมมาก  ยิ่งไปกว่านั้น นวัตกรรมด้านอาหารที่แท้จริงกำลังจะกลายเป็นบรรทัดฐานใหม่  ด้วยแรงหนุนจากผู้บริโภคและความเต็มใจของบริษัทอาหารขนาดใหญ่ที่จะลงทุนในนวัตกรรมเหล่านี้ ส่งผลให้สตาร์ทอัปจำนวนมากที่ทำธุรกิจด้านโปรตีนทางเลือก เช่น เนื้อสัตว์ในห้องแล็บ หรือผลิตภัณฑ์จากนมสังเคราะห์เติบโตอย่างรวดเร็ว  นอกจากนี้ ยังมีการเร่งความเร็วของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคโดยนำเสนอในบรรจุภัณฑ์ขนาดต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงส่วนผสม หรือจัดหาจากซัพพลายเออร์รายอื่น ๆ 
    5. ความโปร่งใสเพื่อผู้บริโภค: บรรดาผู้บริโภคต่างต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ตนซื้อ เช่น แหล่งที่มา, วิธีการปฏิบัติต่อเกษตรกรและสัตว์เลี้ยง, ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม, ประโยชน์ที่จะได้รับ เป็นต้น  สำหรับการเรียกร้องของผู้บริโภค นอกจากจะเป็นโอกาสให้ผู้แปรรูปอาหารและเครื่องดื่มได้บอกเล่าเรื่องราวผ่านบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะที่แสดงให้เห็นถึงการตรวจสอบย้อนกลับและความสดใหม่ของสินค้าหรืออื่น ๆ แล้ว ยังทำให้ผู้ผลิตสามารถเชื่อมต่อและมีส่วนร่วมกับผู้บริโภคในรูปแบบดิจิทัลได้อีกด้วย  เพราะสามารถรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมาย เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ปัจจุบันและ/หรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ของบริษัท
    6. ความยั่งยืนและความโปร่งใส: เมื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกลายเป็นปัญหาที่รุนแรงมากขึ้น อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มก็ย่อมได้รับผลกระทบอย่างไม่ต้องสงสัย  บริษัทจะต้องคำนึงถึงทางเลือกในการจัดหาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น และใช้ประโยชน์จากแมชชีนเลิร์นนิงเพื่อลดการใช้พลังงาน น้ำ และอาหารเหลือทิ้ง  ส่วนภาคการผลิต ธุรกิจจะให้ความสำคัญกับการลดของเสียเป็นหลัก (น้ำ, พลังงาน, อาหาร) เฉกเช่นเดียวกับการขยายซัพพลายเชนทั้งต้นน้ำและปลายน้ำ เช่น แนวทางปฏิบัติด้านการเกษตร การปฏิบัติตามมาตรฐานรับรอง และการขนส่ง เป็นต้น

ดังนั้น การประเมินซัพพลายเออร์โดยพิจารณาจากปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดจึงเป็นสิ่งสำคัญ เช่น ปริมาณมลพิษที่เกิดขึ้นระหว่างการผลิตและการขนส่ง เป็นต้น  ส่วนการจัดหาวัตถุดิบในท้องถิ่นไม่เพียงแต่จะเป็นการสนับสนุนชุมชนเท่านั้น แต่ยังช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวมอีกด้วย  นอกจากนี้ การทำให้ธุรกิจมีความยั่งยืนมากขึ้นด้วยการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น นำกลับมาใช้ซ้ำได้หรือเป็นวัสดุที่รับประทานได้ก็สามารถช่วยลดของเสียและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้เช่นกัน  ดังนั้น การที่ภาครัฐและสาธารณะกดดันให้องค์กรรายงานความคืบหน้าด้านความยั่งยืนและความโปร่งใส แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนแล้วว่าความโปร่งใสของซัพพลายเชนทั้งระบบยังคงเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรก 

สำหรับประเทศไทย ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ เผยภาพรวมของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมีประเด็นที่น่าจับตามองในด้าน (1) แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงเปราะบาง ซึ่งจะทำให้กำลังซื้อของผู้บริโภคในตลาดอาจจะปรับลดและส่งผลกระทบถึงเรื่องค่าใช้จ่ายที่รวมถึงด้านอาหารและเครื่องดื่มได้ ซึ่งอาจส่งผลให้ยอดขายเกิดการชะลอตัวในระยะต่อไป (2) ต้นทุนการผลิตยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับสูง เนื่องจากต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้นในหลาย ๆ ส่วนตลอดห่วงโซ่การผลิต ในฐานะผู้บริโภคปลายน้ำจะสังเกตเห็นได้ว่าราคาสินค้าหลายอย่างแพงขึ้น ส่งผลกระทบให้ค่าครองชีพและอัตราเงินเฟ้อในประเทศเพิ่มสูงขึ้นด้วย (3) การให้ความสำคัญเรื่องอาหารปลอดภัย (Food safety) ซึ่งเป็นประเด็นหลักที่ทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญมาก ดังนั้นผู้ผลิตฯ จะต้องยกระดับมาตรฐานการผลิตให้มีความปลอดภัยและตรวจสอบย้อนกลับได้เพื่อให้ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นมากยิ่งขึ้น (4) แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคที่หลากหลายและเฉพาะเจาะจงมากขึ้น เช่น ปัจจุบันกลุ่มผู้บริโภค Gen Y หรือ Gen Z ที่ใส่ใจเรื่องสุขภาพมากขึ้น จะชอบเลือกซื้อผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่ปรุงแต่งน้อยลง และยังมีแนวโน้มที่จะบริโภคเนื้อสัตว์น้อยลงด้วย  ส่วนอีกกลุ่มที่ไม่สามารถมองข้ามได้คือ กลุ่มผู้สูงอายุที่เติบโตและขยายตัวมากขึ้น เนื่องจากประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคม Aging Society  ดังนั้นผู้ผลิตฯ จะต้องปรับตัว ปรับสูตรผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคกลุ่มนี้ให้มากขึ้นด้วย และสุดท้าย (5)  แนวโน้มการแข่งขันจากสินค้าทดแทนหรือสินค้านวัตกรรม ไม่ว่าจะเป็นกลุ่ม plant-based หรือโปรตีนทางเลือกจากพืช หรือกลุ่มของ lab-grown meat ซึ่งเป็นเนื้อสัตว์เทียม  แม้ว่าปัจจุบันสินค้ากลุ่มนี้จะยังไม่อยู่ในกระแสหลักของตลาด แต่จะเริ่มเห็นพัฒนาการที่ก้าวหน้าและชัดเจนขึ้น ทำให้เชื่อได้ว่าในอนาคตสินค้ากลุ่มนี้จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในตลาดอาหารอย่างแน่นอน

จากประเด็นท้าทายทั้งห้าเรื่องด้านบน ผู้ผลิตอาหารและเครื่องดื่มจะต้องคิดใหม่ทำใหม่ ปรับกลยุทธ์เพื่อให้ตอบโจทย์เทรนด์ที่กำลังเกิดขึ้น เพื่อรับมือกับความท้าทายและการแข่งขันในตลาดต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น

ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับนวัตกรรมซอฟต์แวร์ระบบคลาวด์ที่เราให้บริการแก่ของธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม

Supply Chain’s Wild Ride Continues

Supply Chain’s Wild Ride Continues

Supply Chain’s Wild Ride Continues

By Terry Smagh, Senior Vice President and General Manager for Asia Pacific and Japan, Infor

The past several years have been a wild ride for those of us in supply chain roles. Adaptability has been key as companies looked to their supply chain teams to overcome a steady stream of disruptive events. Looking ahead to 2023, I think the end is not yet in sight. 

Here are five trends I believe will have a huge effect on companies and their supply chain professionals in the coming year.

    1. Virtually everyone’s supply chain plans will be wrong. 

Uncertainty and volatility will continue to conspire with local and global factors affecting supply chain performance. Neither demand nor supply will reach stable and sustainable levels well into 2023, as geopolitical, environmental and macroeconomic pressures play out. Supply chain planning is still critical to business, but don’t worry about trying to predict the future correctly. Instead, emphasize planning for a wider range of what-if scenarios to ensure your business is prepared to adapt and pivot quickly, whatever 2023 brings.

    1. This winter will be tough. 

The Russian war on Ukraine is affecting energy and food supplies worldwide, but things will be particularly challenging in Europe, the Middle East and Africa. Though our global supply chains have evolved to help balance regional gluts and shortages, the extent of worldwide knock-on effects from increasingly frequent and unforeseen disruptions in demand, supply and freight flow will continue to drive inflation, scarcity and pockets of distress.

    1. Labor becomes a major vector of supply chain dysfunction.

The concept of essential workers emerged during the COVID-19 pandemic to classify elements of labor whose work cannot be performed remotely, and whose absence brings basic commerce to a halt or threatens individual health and security. This category included hundreds of thousands of transport and warehouse workers worldwide. Workers have been striking across Europe already and in the US, the railroad workers’ unions have still not accepted new contract proposals, though work stoppages have likely been deferred for a bit. While wages in many logistics sectors increased in the past two years of extreme worker scarcity, those gains have been offset by steep climbs in the cost of living. Economic disparity will drive fundamental political shifts around the world, as well as the flexing of labor muscle to reset employment dynamics in key supply chain entities.

    1. China decoupling efforts will uncover more supply chain inadequacies.

For several years, procurement operations in many industries have been systematically diversifying supplier networks to countries that are NOT China to minimize the impacts of tariff hikes, trade wars and zero-COVID strategies. With Xi Jinping cemented in power for another five years, the supply chain risks from potential Taiwan action, naval and maritime power plays, and China’s increased investments in third-world nations with strategic mineral wealth, will have to be managed actively. Ports, inland transport routes and waterways in other Asian countries benefiting from supply chain shifts do not yet have the transport and logistics infrastructure or service providers to match Chinese strength. Trade routes passing through areas of Chinese control or influence may still be subject to unforeseen disruptions from this global powerhouse.

    1. Supply chain visibility will be redefined. 

This year saw announcements of job cuts at leading real-time transportation visibility providers, and dramatic softening of VC activity in the supply chain technology sector. Industry analysts increasingly mention the dissatisfaction they are hearing from enterprise buyers of transportation visibility, disappointed by the lack of long-term ROI from their investments and the essential business context that is still missing from transport data alone. As the real-time visibility market shifts out of hype cycle mode into the sobering realities of a global economic downturn and growing supply chain maturity levels, we’ll see a renewed emphasis on supply chain business networks and their application platforms to serve up a broader, more holistic and more converged approach to operational supply chain visibility. Buying decisions for visibility will involve more stakeholders and potential beneficiaries than the transportation department, with procurement, finance, S&OP, inventory management and even ES&G leaders weighing in on technology projects to ensure scalability, flexibility and the broad supply chain ecosystem coverage that will help address fast-evolving business needs. 

ระบบซัพพลายเชนยังคงป่วนต่อไป

Supply Chain’s Wild Ride Continues

ระบบซัพพลายเชนยังคงป่วนต่อไป

บทความโดย นายเทอร์รี สมา, รองประธานอาวุโสและผู้จัดการทั่วไป ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและญี่ปุ่น, อินฟอร์

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมานับเป็นห้วงเวลาที่ยากลำบากสำหรับผู้ที่ทำงานในระบบซัพพลายเชน  ความสามารถในการปรับตัวจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากบริษัทต่าง ๆ ยังต้องพึ่งพาทีมซัพพลายเชน เพื่อให้ผ่านพ้นภาวะชะงักงันที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องไปให้ได้  ซึ่งผมยังมองไม่เห็นจุดสิ้นสุดของสิ่งที่จะเกิดขึันในปี 2566 

สำหรับแนวโน้ม 5 ประการที่จะส่งผลกระทบอย่างมากต่อธุรกิจและผู้คนที่ทำงานด้านซัพพลายเชนในปี 2566 มีดังนี้

    1. แผนการด้านซัพพลายเชนจะเกิดข้อผิดพลาดในทางปฏิบัติ

ความไม่แน่นอนและความผันผวน กอปรกับปัจจัยระดับท้องถิ่นและระดับโลกจะส่งผลกระทบต่อการดำเนินการด้านซัพพลายเชน  สำหรับปี 2566 นี้ ในระยะยาวอุปสงค์และอุปทานจะยังไม่ถึงระดับที่มั่นคงและยั่งยืน เนื่องจากแรงกดดันด้านภูมิรัฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจมหภาค  การวางแผนงานด้านซัพพลายเชนยังคงสำคัญต่อธุรกิจ  อย่างไรก็ตาม ไม่ต้องกังวลกับการพยายามคาดการณ์อนาคตที่แม่นยำ แต่ต้องเน้นที่การวางแผนสำหรับสถานการณ์แบบ what-if ที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อให้แน่ใจว่าธุรกิจพร้อมปรับตัวและเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับทุกสิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี 2566 ได้อย่างรวดเร็ว

    1. ฤดูหนาวนี้จะแสนสาหัส

สงครามรัสเซียกับยูเครนกำลังส่งผลกระทบด้านพลังงานและอาหารทั่วโลก แต่ยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกาจะต้องเผชิญกับความท้าทายเป็นพิเศษ  แม้ว่าซัพพลายเชนทั่วโลกของเราจะได้รับการพัฒนาเพื่อช่วยรักษาสมดุลของสินค้าที่ล้นตลาดและขาดแคลนในภูมิภาคแล้วก็ตาม แต่ผลกระทบทั่วโลกที่เกิดจากการหยุดชะงักของอุปสงค์ อุปทาน และการขนส่งสินค้าที่ไม่คาดคิดบ่อยครั้ง จะยังคงส่งผลต่อภาวะเงินเฟ้อ ความขาดแคลน และความกังวลใจ

    1. แรงงานกลายเป็นตัวกระตุ้นสำคัญของปัญหาในระบบซัพพลายเชน

ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 ได้เกิดความคิดเกี่ยวกับ essential workers หรือคนทำงานในกิจการที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวันขึ้น เพื่ออธิบายถึงแรงงานบางส่วนที่ไม่สามารถทำงานได้จากระยะไกลและการขาดงานที่ทำให้การค้าพื้นฐานต้องหยุดชะงัก หรือทำให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพและความปลอดภัยของผู้คน ซึ่งในกลุ่มนี้มีพนักงานขนส่งและคลังสินค้าหลายแสนคนทั่วโลกรวมอยู่ด้วย  โดยคนงานทั่วยุโรปได้มีการหยุดงานประท้วงเพื่อขอให้รัฐบาลเพิ่มค่าแรงแล้ว ในขณะที่สหภาพแรงงานรถไฟในสหรัฐอเมริกายังไม่ยอมรับข้อเสนอสัญญาค่าแรงฉบับใหม่ แม้ว่าการหยุดงานมีแนวโน้มว่าจะยืดเวลาออกไปแล้วก็ตาม  และขณะที่ค่าแรงในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์หลายแห่งได้เพิ่มขึ้นในช่วงสองปีที่ผ่านมา อันเป็นผลมาจากการขาดแคลนแรงงานอย่างรุนแรง แต่รายได้ที่เพิ่มขึ้นเหล่านี้กลับถูกกลบด้วยค่าครองชีพที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว  ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจจะบังคับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองพื้นฐานทั่วโลก เช่นเดียวกับการใช้กำลังแรงงานเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการจ้างงานในบริษัทซัพพลายเชนต่าง ๆ ที่สำคัญ

    1. ความพยายามในการแยกเศรษฐกิจออกจากจีนจะเผยให้เห็นถึงข้อบกพร่องในระบบซัพพลายเชนมากขึ้น

เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่หลายอุตสาหกรรมได้ขยายเครือข่ายซัพพลายเออร์ในการจัดซื้อจัดจ้างอย่างเป็นระบบไปยังนานาประเทศที่ไม่ใช่จีน เพื่อลดผลกระทบจากการขึ้นภาษีศุลกากร ความขัดแย้งทางการค้า และยุทธศาสตร์ Zero-Covid ของจีน  เมื่อนายสี จิ้นผิง ยังครองอำนาจได้อย่างมั่นคงในอีก 5 ปีข้างหน้า ความเสี่ยงด้านซัพพลายเชนจากปฏิกิริยาในอนาคตของไต้หวัน การแสดงแสนยานุภาพทางเรือและทางทะเล ตลอดจนการขยายการลงทุนของจีนในประเทศโลกที่สามที่มีความมั่งคั่งทางยุทธศาสตร์จะต้องได้รับการจัดการอย่างจริงจัง  ทว่า ท่าเรือต่าง ๆ  เส้นทางการขนส่งทางบกและทางน้ำของนานาประเทศในเอเชียที่ได้รับประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของระบบซัพพลายเชน ยังขาดโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งและโลจิสติกส์หรือผู้ให้บริการที่แข็งแกร่งทัดเทียมกับจีน  ดังนั้น เส้นทางการค้าที่พาดผ่านพื้นที่ที่ประเทศจีนมีอิทธิพลหรือควบคุมอยู่ อาจจะต้องเผชิญกับการหยุดชะงักที่ไม่คาดคิดจากมหาอำนาจโลกระดับนี้

    1. การจัดการทัศนวิสัยในซัพพลายเชนจะเปลี่ยนไป

ในปีนี้ เราจะเห็นผู้ให้บริการขนส่งที่มีการจัดการทัศนวิสัยแบบเรียลไทม์ชั้นนำหลายแห่งประกาศเลิกจ้างงาน ขณะที่กิจกรรมร่วมทุนในภาคเทคโนโลยีซัพพลายเชนจะลดลงอย่างมาก  นักวิเคราะห์อุตสาหกรรมกำลังพูดถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ว่า หลายบริษัทที่ซื้อเทคโนโลยีด้านการจัดการทัศนวิสัยระบบขนส่ง ต่างผิดหวังกับการลงทุนที่ไม่ได้ผลตอบแทนในระยะยาว เพราะการมีแต่ข้อมูลด้านการขนส่งเพียงอย่างเดียวทำให้องค์กรขาดบริบททางธุรกิจที่สำคัญ

ในขณะที่ตลาดของเทคโนโลยีด้านการจัดการทัศนวิสัยแบบเรียลไทม์เปลี่ยนจากวงจรการโฆษณา ไปสู่ความเป็นจริงที่น่ากังวลของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกและการเติบโตของซัพพลายเชนที่เพิ่มขึ้น เราจะได้เห็นการให้ความสำคัญกับการเริ่มใหม่ของเครือข่ายธุรกิจซัพพลายเชนและแพลตฟอร์มแอปพลิเคชันที่ให้บริการครอบคลุมเชื่อมโยงเป็นองค์รวมมากขึ้น ในการจัดการทัศนวิสัยด้านการดำเนินงานของซัพพลายเชนทั้งระบบ  ทั้งนี้ ผู้มีส่วนได้เสียและผู้ที่อาจได้ประโยชน์จะมีส่วนในการตัดสินใจซื้อเทคโนโลยีด้านการจัดการทัศนวิสัยมากกว่าฝ่ายขนส่ง โดยฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฝ่ายการเงิน ฝ่ายวางแผนปฏิบัติการและการขาย ฝ่ายจัดการสินค้าคงคลัง และแม้แต่ผู้นำด้านการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืนจะร่วมกันพิจารณาโครงการเทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถปรับขนาดได้ มีความยืดหยุ่น และคลอบคลุมระบบนิเวศซัพพลายเชนในวงกว้าง ซึ่งจะช่วยตอบสนองความต้องการทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

ศูนย์วิจัยกรุงศรีระบุว่า ในสงครามการค้า ซัพพลายเชนที่เคยร้อยเรียงทั้งโลกเข้าด้วยกันในยุคโลกาภิวัฒน์ได้แตกแยกออกจากกัน (Decoupling) สิ่งสำคัญสำหรับประเทศไทยคือการรักษาสมดุลความสัมพันธ์ เพื่อรักษาโอกาสและประโยชน์ทางการค้า  นอกจากนี้ ยังระบุด้วยว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือคำตอบที่ชัดเจนสำหรับการย้ายฐานการผลิตของบริษัทข้ามชาติ ด้วยอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงที่สุดจุดหนึ่งของโลก ขนาดประชากรเกือบพันล้านคน การขยายตัวของชนชั้นกลาง รวมทั้งผู้บริโภคที่ยังอยู่ในวัยหนุ่มสาว เป็นปัจจัยที่ทำให้ชาติตะวันตกรวมทั้งจีนเองปักหมุดขยายธุรกิจมาในพื้นที่นี้อย่างเข้มข้น โดยในกลุ่มประเทศเกิดใหม่หรือ Emerging Market ก็จะมีผู้เล่นจากอาเซียนเป็นดาวเด่นอยู่หลายราย  รวมทั้งอินโดนีเซียที่เศรษฐกิจขยายตัวได้มากกว่า 5% และเวียดนามที่เติบโตอย่างร้อนแรงที่ระดับ 7% นอกจากนี้ยังมีประเทศกลุ่มลุ่มน้ำโขงอื่น ทั้งสปป.ลาว เมียนมา และกัมพูชาที่กำลังซื้อของผู้บริโภคเติบโตอย่างร้อนแรงอีกด้วย

นอกจากการย้ายฐานการผลิตแล้ว สิ่งที่จะเกิดขึ้นอย่างชัดเจนคือการเจรจาการค้าเสรีโดยเฉพาะรูปแบบทวิภาคี จับคู่กันตามสะดวกและผลประโยชน์ที่ลงตัว การรวมกลุ่มทั้งหลายจะยังคงมีอยู่ เพราะทุกธุรกิจต้องปรับตัวเพื่อรับมือกับความท้าทายใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ธุรกิจที่พร้อมเปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้เร็วเท่านั้นที่จะอยู่รอด ไม่มีคำตอบอื่นอีกต่อไป

Connecting the Dots

Disruption as the new normal?

Connecting the Dots

By Isabella Kusumawati, Vice President and Managing Director for Southeast Asia and Korea, Infor

The value of the market for artificial intelligence (AI) in the food and beverage sector is expected to reach a staggering $29.94 billion by 2026. Already in use by pioneering businesses across the industry, it’s clear that AI is making its presence felt in more ways than one, impacting all aspects of the food supply chain, driving smarter, faster decisions and underpinning that all-important competitive advantage.

Whilst many in the industry have heard of AI, there is still widespread uncertainty as to how AI technologies can be applied and just what benefits can be reaped. Put simply, AI has the potential to optimise all areas of food manufacturing, facilitating smart, industry-specific applications to improve every aspect of the supply chain, from farm to fork, building agile supply chains and driving revenue growth.

Many regard AI as the machinery and technologies used to carry out complex tasks that previously required human thought to complete, but it goes even further than that, enabling new approaches to data analysis that simply are not possible to do manually. This is where AI comes into its own, with the ability to consider an inordinate number of data values, parameters, what-if scenarios and other contributing factors to produce accurate and timely recommendations for almost every aspect of the food supply chain. Ultimately, this provides a competitive advantage that it would be impossible to replicate without the application of AI technologies.

AI in the food industry comprises a number of technologies, from robotics to machine learning, so where are we seeing AI in action across the industry and what impact is it having?

Precision farming

AI technologies are being used to bring new depths of precision to farming. So, this might be analysis of past harvests in terms of both quantity and quality, in combination with weather forecasts to inform which fields need watering and when, or when to use fertiliser perhaps. In the aquaculture sector, there is a business that is using AI technology to ensure accurate doses of feed are administered in shrimp farming, avoiding over and under-feeding. This serves to lower the feed conversion ratio and shortens the shrimp production cycle, doubling production without huge intensification.

Pricing strategy

Again, taking into account numerous factors, the application of AI technologies can inform a more effective pricing strategy. AI applications can quickly and effectively analyse all contributing variables, such as seasonality, competitor pricing, promotions, customer demand, etc., building up a clear picture of pricing history and trends, to inform recommendations regarding which products should be sold at which price to maximise revenues. There is already a leading European bakery ingredients business doing just this, implementing the right technology to achieve optimal pricing recommendations for its wide range of products.

Mitigate against unpredictability

Over the past two years in particular, the unpredictability of food supply chains has had a massive impact on food and beverage manufacturing. This is another area where AI can hold the key to unlocking new, better ways of working. For example, the right AI tools can predict sea vessel arrival times, helping manufacturers to more accurately forecast when their raw ingredients will be arriving. It is the level of detail that AI brings that makes all the difference. Not only can manufacturers secure a more accurate picture of when ingredients will arrive, but the technology can also factor in considerations such as how long deliveries will take to unload at the factory, instilling an even greater level of accuracy when it comes to scheduling production to optimise operations and maximise productivity.

This granularity of information is what makes AI the cornerstone of more accurate, agile, predictable supply chains, helping businesses to plan for all eventualities and delivering the actionable insight needed to stay one step ahead of the competition.

Sustainability

The issue of sustainability is another area where AI is having a positive impact on food and beverage manufacturing. Businesses are able to use the insight generated by AI applications to minimise energy and water usage, ensuring the most energy-efficient production, alongside waste reduction at all potential touch points in the manufacturing process. In a similar vein, machine learning-based specification matching and stock allocation enables manufacturers to ask if they can optimise the use of existing stock and still meet customer specifications.  

As well, innovative businesses are taking quality information, in combination with ingredient shelf-life data, using AI to determine dynamic best before dates. AI answers the question of ‘can we extend the shelf life safely considering the quality at hand?’, which ultimately prolongs the sellable life of a product, reducing waste and increasing revenue. At the same time, AI technologies can facilitate smart shelves in supermarkets, where prices are adjusted based on remaining shelf life and point of sales history, reducing waste and increasing profitability further still.

Maximise yield

The ability to maximise yield is yet another area where AI can make a world of difference. Internet of Things (IoT) devices in combination with machine learning are optimising machine settings to maximise yield. For example, manufacturers can ask how to maximise yield considering the quality of ingredients and the process conditions. Taking into account an almost inordinate number of process parameters, it is possible for manufacturers to use AI to maximise the output of processes at every step of the way.   

AI is all about connecting the dots, making the most of the huge amounts of data generated by the food and beverage sector, and using AI technologies to analyse this data and gain a better understanding of the many and complex variables at play within the industry. As more businesses invest in AI technologies, so suppliers can create more out-of-the box AI solutions. The learnings and experiences of food and beverage manufacturers inform AI templates that can then be applied to similar businesses, delivering the insight needed to maximise efficiencies and boost revenue.

To work, AI needs data. As long as there is data, it is possible to use AI technologies to recognise data trends and patterns, applying this learning and insight back to the business. It is this application of insight that is helping to create better, faster, more profitable operations at every stage of the supply chain, building a responsive and resilient food and beverage industry right across the world.