เช็กความพร้อมคนหาบ้าน 2566 ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งวางแผนซื้อบ้านใน 1 ปีข้างหน้า แม้สภาพคล่องทางการเงินยังท้าทาย

เช็กความพร้อมคนหาบ้าน 2566 ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งวางแผนซื้อบ้านใน 1 ปีข้างหน้า แม้สภาพคล่องทางการเงินยังท้าทาย

เช็กความพร้อมคนหาบ้าน 2566 ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งวางแผนซื้อบ้านใน 1 ปีข้างหน้า แม้สภาพคล่องทางการเงินยังท้าทาย

แม้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังไม่ดีดังเดิมเนื่องจากเผชิญความท้าทายรอบด้านในปีที่ผ่านมา แต่ในปี 2566 เริ่มมีสัญญาณบวกอีกครั้งเมื่อจีนประกาศเปิดประเทศ และการกลับมาของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ขับเคลื่อนให้ภาคท่องเที่ยวเริ่มเติบโตอีกครั้ง ซึ่งจะส่งผลดีต่อการเติบโตในภาพรวมของเศรษฐกิจและกระตุ้นให้เกิดการจ้างงานรวมถึงการใช้จ่ายในประเทศให้กลับมาคึกคักอีกครั้ง ข้อมูลจากศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เผยว่า ข้อมูลจากดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค (CCI) เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ปรับตัวขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 52.6 จาก 51.7 ในเดือนก่อนหน้า ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 และอยู่ในระดับสูงสุดในรอบ 36 เดือนนับตั้งแต่เดือนมีนาคม 2563 สะท้อนให้เห็นว่า แม้จะมีความท้าทายจากปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ แต่เมื่อสถานการณ์เริ่มคลี่คลายไปในทิศทางที่ดีขึ้น ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในการใช้จ่ายจะเริ่มกลับมาตามไปด้วย

ขณะที่ตลาดอสังหาริมทรัพย์มีการเติบโตไปในทิศทางที่ดีขึ้น หลังจากผู้พัฒนาอสังหาฯ ปรับกลยุทธ์ทำการตลาดเจาะกลุ่มผู้ซื้อที่มีความพร้อมทางการเงิน รวมทั้งเลือกพัฒนาโครงการที่ตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายมากขึ้น ขณะที่กลุ่มผู้บริโภคยังคงมีความต้องการซื้อที่อยู่อาศัย

ดีดีพร็อพเพอร์ตี้ (DDproperty) เว็บไซต์มาร์เก็ตเพลสด้านอสังหาริมทรัพย์อันดับ 1 ของไทย เผยข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อตลาดที่อยู่อาศัย DDproperty Thailand Consumer Sentiment Study รอบล่าสุด พบว่า ดัชนีความเชื่อมั่นด้านอสังหาริมทรัพย์ของผู้บริโภคชาวไทยปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 49% จากเดิม 51% ในรอบก่อน อันเป็นผลมาจากความท้าทายด้านการเงินที่รุมเร้าทั้งจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ภาวะเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพโดยตรง ทำให้ความสามารถในการซื้อที่อยู่อาศัยของผู้บริโภคปรับลดลงมาอยู่ที่ 65% (จาก 67% ในรอบก่อนหน้า) 

อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาความพึงพอใจในสภาพตลาดที่อยู่อาศัยนั้นพบว่าเติบโตอย่างน่าสนใจ มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 65% จากเดิมที่มีเพียง 57% เท่านั้น โดยผู้บริโภคส่วนใหญ่ (40%) เผยว่ามีความพึงพอใจเนื่องจากราคาที่อยู่อาศัยปัจจุบันยังเป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ ขณะที่ 33% มองว่าตลาดที่อยู่อาศัยมีความมั่นคงและยืดหยุ่น ส่วน 32% มองเห็นโอกาสสร้างผลตอบแทนที่ดีในระยะยาว ทั้งนี้ ปัจจัยหนึ่งที่เอื้อต่อการซื้อบ้านคือมาตรการรัฐ ซึ่งผู้บริโภครู้สึกพึงพอใจเพิ่มขึ้น จาก 12% ในรอบก่อนหน้า มาอยู่ที่ 19% โดยเชื่อว่ามาตรการรัฐจะช่วยให้สามารถซื้อที่อยู่อาศัยเป็นของตัวเองได้

กางแผนการซื้อที่อยู่อาศัย ปีนี้คนไทยพร้อมเป็นเจ้าของบ้านมากแค่ไหน

ข้อมูลจากแบบสอบถามฯ DDproperty Thailand Consumer Sentiment Study รอบล่าสุด พบว่า แม้ผู้บริโภคมากกว่าครึ่ง (52%) วางแผนจะซื้อที่อยู่อาศัยในอีก 1 ปีข้างหน้านี้ แต่สัดส่วนลดลงจากรอบก่อนที่มีถึง 57% สะท้อนให้เห็นว่าแม้สถานการณ์ต่าง ๆ จะเริ่มคลี่คลาย แต่ความท้าทายเหล่านั้นยังมีผลกระทบต่อการตัดสินใจเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยไม่น้อย ขณะที่สัดส่วนผู้เลือกเช่าที่อยู่อาศัยเพิ่มเป็น 9% จากเดิมที่มีเพียง 7% ส่วนอีก 39% ยังไม่มีการวางแผนซื้อหรือเช่าที่อยู่อาศัยใด ๆ 

    • “ขอพื้นที่ส่วนตัว – มองโอกาสลงทุน” เหตุผลหลักดันคนซื้อบ้าน 2 ใน 5 ของผู้บริโภค (40%) เผยว่าเหตุผลสำคัญที่ทำให้ตัดสินใจซื้อที่อาศัยมาจากต้องการพื้นที่ส่วนตัว รองลงมาคือ ซื้อเพื่อการลงทุน (33%) และต้องการพื้นที่สำหรับพ่อแม่/บุตรหลานเพื่อรองรับการขยายครอบครัว (28%) อย่างไรก็ตาม หากเปรียบเทียบกับรอบก่อนหน้าจะพบว่า ความต้องการพื้นที่ส่วนตัว รวมถึงความต้องการพื้นที่สำหรับพ่อแม่/บุตรหลานนั้นลดลง (43% และ 30% ตามลำดับในรอบก่อนหน้า) แต่ผู้บริโภคให้ความสำคัญกับการเลือกทำเลที่เดินทางสะดวก เช่น ใกล้ที่ทำงาน, ใกล้โรงเรียนบุตรหลานมากขึ้น จาก 22% ในรอบก่อนหน้า มาอยู่ที่ 24% สะท้อนให้เห็นว่าทำเลยังคงเป็นปัจจัยที่สำคัญสำหรับผู้ซื้อบ้านยุคนี้ หลังจากผู้ซื้อบ้านให้ความสำคัญกับเรื่องของพื้นที่มากขึ้นในช่วงที่มีการแพร่ระบาดฯ แต่เมื่อเริ่มกลับเข้าสู่สถานการณ์ปกติ การ Work from Home น้อยลง ดังนั้น การเลือกที่อยู่อาศัยในทำเลที่สะดวกสบายในการเดินทางจึงเป็นปัจจัยที่คนให้ความสำคัญและตอบโจทย์คนหาบ้านในปัจจุบัน
    • ผู้บริโภค 1 ใน 3 พร้อมที่จะซื้อบ้าน เมื่อพิจารณาความพร้อมทางการเงินของผู้ที่วางแผนซื้อที่อยู่อาศัย พบว่า เกือบ 1 ใน 3 (32%) มีเงินออมเพียงพอที่จะซื้อที่อยู่อาศัยเป็นของตัวเองแล้ว โดยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากรอบก่อนหน้าที่มีเพียง 25% ขณะที่ผู้บริโภคมากกว่าครึ่ง (51%) เผยว่าเก็บเงินเพื่อซื้อบ้าน/คอนโดฯ ได้เพียงครึ่งทางเท่านั้น (เพิ่มขึ้นจาก 47% ในรอบก่อนหน้า) สะท้อนให้เห็นว่า ผู้บริโภคเริ่มหันมาให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมทางการเงินก่อนซื้อที่อยู่อาศัยมากขึ้น เนื่องจากการซื้ออสังหาฯ ถือเป็นทรัพย์สินที่มีราคาสูงและมีการผ่อนชำระยาวนาน ประกอบกับสถาบันการเงินยังคงมีการพิจารณาสินเชื่อที่เข้มงวด ผู้บริโภคจึงต้องเตรียมพร้อมให้มากที่สุดเพื่อหลีกเลี่ยงการก่อหนี้ที่เกินตัว ส่วนอีก 16% ยังไม่ได้เริ่มวางแผนเก็บเงินใด ๆ เลย
    • “เงินเก็บไม่พร้อม – ไม่อยากลงหลักปักฐาน” ดึงดูดให้เลือกเช่า เหตุผลหลักของผู้ที่เลือกเช่าที่อยู่อาศัยใน 1 ปีข้างหน้านั้น เกือบครึ่ง (45%) เผยว่ายังไม่มีเงินเก็บเพียงพอในการซื้อที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง ตามมาด้วยไม่ต้องการตั้งถิ่นฐานถาวรอยู่เพียงที่เดียว (36%) ขณะที่อีก 31% มองว่าที่อยู่อาศัยมีราคาแพงเกินไป จึงเลือกเก็บออมเงินไว้แทน สะท้อนให้เห็นถึงเทรนด์การอยู่อาศัยที่ปรับเปลี่ยนไปตามบริบทแวดล้อม การเช่าที่อยู่อาศัยช่วยให้ผู้บริโภคประหยัดรายจ่ายจึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจของคนหาบ้านในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังตอบโจทย์การใช้ชีวิตในเมืองหลวงมากกว่า รวมทั้งมีความยืดหยุ่นและคล่องตัวกว่าหากต้องการโยกย้ายทำเลในอนาคต 

ส่องความต้องการคนหาบ้าน “ขนาด-ทำเล” มีผลต่อการตัดสินใจมากที่สุด 

สำหรับปัจจัยภายในอันดับต้น ๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อหรือเช่าที่อยู่อาศัยนั้น ผู้บริโภคส่วนใหญ่จะพิจารณาจากขนาดที่อยู่อาศัยมาเป็นอันดับแรกถึง 46% โดยคำนึงถึงพื้นที่ใช้สอยภายในบ้าน/คอนโดฯ ที่ต้องเพียงพอและตอบโจทย์ของสมาชิกในครอบครัว พร้อมรองรับการทำงานหรือทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามมาด้วยราคาเฉลี่ยต่อพื้นที่ใช้สอย (39%) และสิ่งอำนวยความสะดวกภายในที่พัก (37%)

ขณะที่ปัจจัยภายนอกโครงการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อ/เช่าที่อยู่อาศัย ผู้บริโภคมากกว่าครึ่ง (52%) ให้ความสำคัญไปที่ทำเลที่ตั้งมากที่สุด รองลงมาคือการเดินทางที่สะดวกด้วยระบบขนส่งสาธารณะ และความปลอดภัยในโครงการและทำเลในสัดส่วนที่ไล่เลี่ยกัน (48% และ 47% ตามลำดับ) สะท้อนให้เห็นเทรนด์ที่อยู่อาศัยของคนหาบ้านยุคนี้ ที่ต้องการบ้าน/คอนโดฯ ที่ตอบโจทย์ทั้งการอยู่อาศัยและการดำเนินชีวิตด้วย ไม่ว่าจะเป็นการตั้งอยู่ในทำเลที่เดินทางสะดวก หรือมีศักยภาพที่จะเติบโตในอนาคต นอกจากนี้ โครงการที่อยู่ใกล้ระบบขนส่งสาธารณะยังเพิ่มโอกาสให้ที่อยู่อาศัยนั้นมีราคาดีและน่าสนใจมากขึ้น หากต้องการขายหรือปล่อยให้เช่าในอนาคตอีกด้วย

อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันผู้บริโภคเลือกใช้บริการเอเจนต์หรือนายหน้าอสังหาริมทรัพย์เป็นผู้ช่วยให้การซื้อ/ขายที่อยู่อาศัยราบรื่นยิ่งขึ้น โดยปัจจัยสำคัญที่ดึงดูดให้ผู้บริโภคตัดสินใจเลือกซื้อ/ขายที่อยู่อาศัยผ่านเอเจนต์อสังหาฯ นั้น กว่า 4 ใน 5 (81%) ให้ความสำคัญไปที่ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของเอเจนต์ ตามมาด้วยประสบการณ์ของเอเจนต์ (78%) และชื่อเสียงของเอเจนต์ (71%) นอกจากนี้ พบว่า 80% ของผู้บริโภคให้ความสำคัญกับการเลือกทำธุรกรรมซื้อ/ขายอสังหาฯ กับเอเจนต์ที่ได้รับการยืนยันตัวตน (Verified Agents) เนื่องจากมีความน่าเชื่อถือมากกว่า และช่วยเพิ่มความมั่นใจในการทำธุรกรรมมากขึ้น

DDproperty CSS H1 2023

ความท้าทายที่ต้องจับตา “ภาวะเงินเฟ้อ” ฉุดคนชะลอซื้อบ้าน 

ข้อมูลจากสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เผยว่า ดัชนีราคาผู้บริโภค (เงินเฟ้อทั่วไป) เดือนกุมภาพันธ์ 2566 เท่ากับ 108.05 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน (104.10) ส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้น 3.79% (YoY) ชะลอตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 และอยู่ระดับต่ำสุดในรอบ 13 เดือน แต่ยังไม่เข้ากรอบเป้าหมายที่กำหนดไว้ จึงถือเป็นเรื่องที่ต้องจับตามองอย่างใกล้ชิด ซึ่งภาวะเงินเฟ้อถือเป็นอีกความท้าทายที่ส่งผลกระทบต่อกำลังซื้อของผู้บริโภคอย่างเลี่ยงไม่ได้ โดยผู้บริโภคเกือบ 4 ใน 5 (73%) เผยว่าภาวะเงินเฟ้อส่งผลกระทบให้ค่าใช้จ่ายในครัวเรือนรายวันปรับสูงขึ้น รวมทั้งกระทบแผนการเงิน ทำให้เงินเก็บรายเดือนลดน้อยลง (50%) นอกจากนี้ยังทำให้ต้องลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น และลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนรายวันลงไป (ในสัดส่วนเท่ากันที่ 41%)

แน่นอนว่าภาวะเงินเฟ้อยังส่งผลกระทบโดยตรงต่อตลาดอสังหาริมทรัพย์ และสั่นคลอนแผนการซื้อที่อยู่อาศัยตามไปด้วย ในช่วงที่ต้องเผชิญภาวะเงินเฟ้อสูง มีผู้บริโภคเพียง 1 ใน 5 (23%) เท่านั้นที่ยังเดินหน้าซื้อที่อยู่อาศัยตามแผนเดิม ขณะที่ 3 ใน 5 (63%) เลือกชะลอการซื้อที่อยู่อาศัยออกไปก่อนจนกว่าภาวะเงินเฟ้อจะลดลง ส่วนอีก 14% ยกเลิกแผนการซื้อที่อยู่อาศัยทั้งหมด เนื่องจากภาวะเงินเฟ้อถือเป็นอีกตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินและการผ่อนชำระที่อยู่อาศัย 

แม้ว่าปีนี้ภาครัฐจะมีการต่ออายุมาตรการช่วยเหลือภาคอสังหาฯ บางส่วน เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มผู้ซื้อเพื่ออยู่อาศัยจริง (Real Demand) ได้เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยง่ายขึ้น แต่มาตรการที่มีอาจไม่ดึงดูดใจผู้บริโภคมากเพียงพอ โดยมาตรการช่วยเหลือและสนับสนุนการซื้อที่อยู่อาศัยจากภาครัฐในช่วงภาวะเงินเฟ้อที่ผู้บริโภคต้องการนั้น มากกว่าครึ่ง (56%) ต้องการมาตรการที่ช่วยลดดอกเบี้ยสินเชื่อบ้านเพิ่มเติม ตามมาด้วยมาตรการลดดอกเบี้ยทั้งสินเชื่อบ้านที่กู้ใหม่และที่มีอยู่ (54%) และมาตรการลดหย่อนภาษีสำหรับผู้ซื้อบ้านหลังแรก (41%) นอกจากนี้ 39% คาดหวังให้มีการขยายระยะเวลาการผ่อนชำระสูงสุด สะท้อนให้เห็นว่าผู้บริโภคส่วนใหญ่คาดหวังมาตรการทางการเงินที่ช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมการเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยในกลุ่ม Real Demand ในช่วงที่มีความท้าทายเช่นนี้ได้อย่างตรงจุดมากขึ้น 

หมายเหตุ: DDproperty Thailand Consumer Sentiment Study เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อตลาดที่อยู่อาศัยในประเทศไทยที่จัดทำขึ้นทุก 6 เดือน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจมุมมองและความต้องการของผู้บริโภค รวมไปถึงนักลงทุนและเอเจนต์ต่อประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับตลาดที่อยู่อาศัย รวมไปถึงพฤติกรรมและแนวโน้มการซื้อ-ขาย-เช่า ผ่านแบบสอบถามออนไลน์ในกลุ่มตัวอย่างอายุตั้งแต่ 22-69 ปี จำนวน 1,000 คน 

อ่านและศึกษาข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อตลาดที่อยู่อาศัยในประเทศไทยรอบล่าสุดได้ที่ DDproperty Thailand Consumer Sentiment Study 

Red Hat and Oracle Expand Collaboration to Bring Red Hat Enterprise Linux to Oracle Cloud Infrastructure

Red Hat and Oracle Expand Collaboration

Red Hat and Oracle Expand Collaboration to Bring Red Hat Enterprise Linux to Oracle Cloud Infrastructure

Certified configurations of OCI Compute resources can now run on Red Hat Enterprise Linux, delivering greater customer choice in distributed cloud environments

Red Hat, Inc., the world’s leading provider of open source solutions, and Oracle today announced a multi-stage alliance to offer customers a greater choice of operating systems to run on Oracle Cloud Infrastructure (OCI). The strategic collaboration starts with Red Hat Enterprise Linux running on OCI as a supported operating system, improving the experience for organizations that rely on both OCI and Red Hat Enterprise Linux to fuel digital transformation and migration of mission-critical applications to the cloud.

Gartner’s “Forecast: Public Cloud Services, Worldwide, 2020-2026, 4Q22 Update” states that “worldwide, public cloud services are forecast to grow 18.5% in 2023” while “organizations continue accelerating cloud adoption, which is driving a five-year compound annual growth rate of 19.6%.”[1] This growth indicates a need for broad support of customer choice, both in terms of cloud provider and the operating system underpinning cloud environments.

Ninety percent of the Fortune 500 currently rely on Red Hat and Oracle solutions. For many of these companies, Red Hat Enterprise Linux serves as their operating system foundation and OCI offers them high-performing, mission-critical cloud services, to power digital-forward operations. Now these organizations are able to standardize their cloud operations with Red Hat Enterprise Linux running on OCI, which enables customers to gain a common platform that stretches from their datacenter to the OCI distributed cloud.

With this strategic collaboration, certified configurations of OCI flexible virtual machines can now run Red Hat Enterprise Linux, and customers can also migrate existing workloads already running on Red Hat Enterprise Linux to Red Hat Enterprise Linux on OCI with greater confidence. OCI flexible virtual machines can scale in increments as small as a single CPU to optimize price-performance and minimize wasted resources. Customers can also contact both Red Hat and Oracle support to help resolve potential issues, with an expanded transparent, joint support agreement.

Red Hat Enterprise Linux forms the backbone of Red Hat’s hybrid cloud technology portfolio, which includes Red Hat OpenShift. Red Hat Ansible Automation Platform and additional technologies to support the modern cloud-native stack. With this collaboration, joint customers of Red Hat and Oracle can now create a foundation for future-forward computing deployments on Red Hat Enterprise Linux while still retaining the value of existing IT investments.

 Availability

Red Hat Enterprise Linux is now certified on OCI’s flexible virtual machines that offer from one up to 80 CPU cores in single CPU increments, and from 1GB memory per CPU up to a total of 1024 GB, depending on the processor. Red Hat Enterprise Linux is initially supported on the most recent OCI virtual machine shapes using AMD, Intel and Arm processors.

More information on launching Red Hat Enterprise Linux on OCI, including step by step directions, is available here. In addition, planning work has begun for Red Hat Enterprise Linux to be certified on OCI’s bare-metal servers, which can provide greater isolation and performance comparable to on-premises environments. 

About Red Hat Enterprise Linux

Red Hat Enterprise Linux provides a flexible and stable Linux foundation to support hybrid cloud innovation. Applications and critical workloads can be built, deployed and managed faster and more efficiently with greater consistency across physical, virtual, private, public cloud and edge deployments. The platform provides for building security and compliance capabilities into infrastructure at development and a path to more easily maintaining stability throughout the production life cycle. IT organizations can operate with greater confidence and trust using a platform that empowers innovation and increases operational efficiency within their organization—no matter where they choose to run.

About OCI’s Distributed Cloud

OCI’s distributed cloud offers customers the benefits of cloud with greater control over data residency, locality and authority, even across multiple clouds. OCI’s distributed cloud features the following:

    • Multicloud: OCI’s multicloud capabilities such as Oracle Database Service for Microsoft Azure and MySQL HeatWave give customers the choice to pick the best cloud provider for their applications and databases.
      Hybrid cloud: OCI delivers hybrid cloud services on-premises via Oracle Exadata Cloud@Customer and manages infrastructure in over 60 countries.
    • Public cloud: Today, OCI operates 41 OCI regions in 22 countries, with 9 more planned, including two sovereign cloud regions for the EU.
    • Dedicated cloud: OCI delivers dedicated regions for customers to run all Oracle cloud services in their own data centers, and Oracle Alloy will enable partners to customize the cloud services and experience for their customers.

Supporting Quotes

Ashesh Badani, senior vice president, head of Products, Red Hat

“Customer choice, from hardware to cloud provider, is a crucial commitment for Red Hat, whether these organizations are running operations in their own datacenters, on multiple public clouds or at the far edge. Our collaboration with Oracle to deliver full support for Red Hat Enterprise Linux on OCI further cements this commitment to choice by extending cloud deployment options for our customers, and laying the foundation to make additional Red Hat solutions available to customers digitally transforming on OCI.”

Clay Magouyrk, executive vice president, Oracle Cloud Infrastructure

“A significant number of customers rely on both Red Hat and OCI to run their operations and require more choice for distributed cloud deployments than ever before. Starting today,customers can deploy Red Hat Enterprise Linux on OCI and receive full support for these certified configurations from both Red Hat and Oracle. Deepening our collaboration in the future will see us support additional products and workloads on OCI so customers havemore flexibility.”

David Wood, global strategy lead, Accenture Cloud First

“A hybrid and multicloud mindset is becoming the new normal. With Red Hat Enterprise Linux available on Oracle Cloud Infrastructure, our clients can now migrate newer applications to OCI without changing the underlying environment, helping to accelerate transformation initiatives, and ultimately realize value faster.”

Robert Churchyard, global Oracle leader, IBM

“Modernization is critical in today’s hybrid, multicloud world—but clients need choice and flexibility to enable a truly meaningful transformation. The collaboration between Red Hat and Oracle is another example of bringing choice to clients and helping them accelerate their modernization efforts.” 

Vinod Sivarama Krishnan, CIO, Indus Towers

“Indus Towers currently uses OCI extensively to support our decision support and analytics platform and to enjoy true scalability for our Oracle application and database environments. The welcome addition of Red Hat Enterprise Linux support on OCI opens the door for Indus Towers to further migrate certain key application stacks and workloads to cloud without recompilation, thereby avoiding development and testing costs and risks. This new capability will enable Indus Towers to bring the advantages of OCI scalability and reliability to a larger subset of the Indus Towers’ application stack.”

David Kerr, leader, Red Hat Global Strategic Alliance, Kyndryl

“We are delighted to see our global alliance partners Oracle and Red Hat offer greater choice to customers by introducing support for Red Hat Enterprise Linux on OCI. Kyndryl and Red Hat jointly support almost 900 customers globally who consistently stress the importance of reliable support across their IT environments.  We are pleased to offer Red Hat Enterprise Linux on OCI as a delivery platform on which we design, build, manage and modernize mission critical IT systems for customers.”

[1] Gartner. “Forecast: Public Cloud Services, Worldwide, 2020-2026, 4Q22 Update” December 20, 2022, Colleen Graham, Amarendra., Arunasree Cheparthi, Shailendra Upadhyay

Red Hat และ Oracle ขยายความร่วมมือ นำ Red Hat Enterprise Linux ทำงานร่วมกับ Oracle Cloud Infrastructure

Red Hat and Oracle Expand Collaboration

Red Hat และ Oracle ขยายความร่วมมือ นำ Red Hat Enterprise Linux ทำงานร่วมกับ Oracle Cloud Infrastructure

Certified configurations ของ OCI Compute resources สามารถรันบน Red Hat Enterprise Linux ได้แล้ว เพื่อมอบทางเลือกในการใช้สภาพแวดล้อม distributed cloud ให้กับลูกค้าได้มากขึ้น

เร้ดแฮท อิงค์ (Red Hat) ผู้ให้บริการโซลูชันโอเพ่นซอร์สระดับแนวหน้าของโลก และออราเคิล (Oracle) ประกาศความร่วมมือ เพื่อให้ลูกค้าที่ใช้ Oracle Cloud Infrastructure (OCI) มีตัวเลือกเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการมากขึ้น ความร่วมมือเชิงกลยุทธ์นี้ เริ่มจากการใช้ Red Hat Enterprise Linux เป็นระบบปฏิบัติการรองรับการทำงานบน OCI เป็นการเพิ่มประสบการณ์ที่ดีให้กับองค์กรที่ใช้ทั้ง OCI และ Red Hat Enterprise Linux เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนการทรานส์ฟอร์มสู่ดิจิทัล และการโยกย้ายแอปพลิเคชันสำคัญต่าง ๆ ไปทำงานบนคลาวด์

ข้อมูลจาก “Forecast: Public Cloud Services, Worldwide, 2020-2026, 4Q22 Update” ของ Gartner ระบุว่า “บริการด้านพับลิคคลาวด์ทั่วโลกจะเติบโต 18.5% ในปี 2566” ในขณะที่ “องค์กรต่าง ๆ จะยังคงเร่งนำคลาวด์มาใช้ ซึ่งส่งให้มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปีในระยะเวลาห้าปี (five-year compound annual growth rate) อยู่ที่ 19.6%”[1] และการเติบโตนี้ก็ชี้ให้เห็นถึงความต้องการการสนับสนุนหลากหลายที่สามารถมอบทางเลือกให้กับลูกค้าได้อย่างกว้างขวาง ทั้งจากผู้ให้บริการคลาวด์ และจากระบบปฏิบัติการที่รองรับสภาพแวดล้อมของการทำงานบนคลาวด์

เก้าสิบเปอร์เซ็นต์ขององค์กรที่อยู่ใน Fortune 500 ในปัจจุบันใช้โซลูชันของ Red Hat และ Oracle โดยบริษัทหลายแห่งในจำนวนนี้ใช้ Red Hat Enterprise Linux เป็นระบบปฏิบัติการพื้นฐาน และใช้ OCI ซึ่งมอบบริการคลาวด์ต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงและรองรับงานที่มีความสำคัญ เป็นพลังขับเคลื่อนการทำงานแบบดิจิทัล ปัจจุบันองค์กรเหล่านี้มีระบบปฏิบัติการที่เป็นมาตรฐานด้วยการใช้ Red Hat Enterprise Linux ที่ทำงานบน OCI ทำให้ลูกค้าได้ใช้แพลตฟอร์มเดียวกับที่รองรับการทำงานจากดาต้าเซ็นเตอร์ในองค์กรตนไปจนถึงดิสทริบิ้วเต็ดคลาวด์ของ OCI

ความร่วมมือเชิงกลยุทธ์ครั้งนี้ช่วยให้คอนฟิกกูเรชันทั้งหลายที่ผ่านการรับรองแล้วของเวอร์ชวลแมชชีนที่ยืดหยุ่นของ OCI สามารถทำงานบน Red Hat Enterprise Linux ได้ และลูกค้าสามารถโยกย้ายเวิร์กโหลดที่ใช้อยู่บน Red Hat Enterprise Linux ไปทำงานบน Red Hat Enterprise Linux on OCI ได้อย่างมั่นใจมากขึ้น เวอร์ชวลแมชชีนที่ยืดหยุ่นของ OCI สามารถปรับขนาดทีละน้อย ๆ ได้เท่ากับ CPU ตัวเดียว เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพในราคาที่เหมาะสม และสิ้นเปลืองทรัพยากรน้อยที่สุด นอกจากนี้ข้อตกลงในการให้การสนับสนุนร่วมกันที่โปร่งใสมากขึ้น ช่วยให้ลูกค้าสามารถติดต่อฝ่ายสนับสนุนทั้งของ Red Hat และ Oracle เพื่อช่วยแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้

Red Hat Enterprise Linux เป็นผลิตภัณฑ์ฐานรากหลักของผลิตภัณฑ์กลุ่มเทคโนโลยีไฮบริดคลาวด์ของ Red Hat ซึ่งรวมถึง Red Hat OpenShift, Red Hat Ansible Automation Platform and เทคโนโลยีอื่น ๆ ที่สนับสนุนคลาวด์-เนทีฟ สแต็ก รุ่นใหม่ ๆ ความร่วมมือนี้ช่วยให้ลูกค้าของ Red Hat และ Oracle สามารถสร้างโครงสร้างพื้นฐานการใช้คอมพิวติ้งในอนาคต บน Red Hat Enterprise Linux และยังคงได้ประโยชน์จากการลงทุนด้านไอทีที่มีอยู่แล้ว

ความพร้อมใช้งาน

Red Hat Enterprise Linux ได้รับการรับรองให้ใช้กับเวอร์ชวลแมชชีนที่ยืดหยุ่นของ OCI แล้ว โดยนำเสนอการเพิ่มคอร์ประมวลผลตั้งแต่หนึ่งคอร์ไปจนถึงสูงสุด 80 คอร์ในหนึ่งโปรเซสเซอร์ และหน่วยความจำจาก 1GB ต่อ CPU จนสูงสุดรวม 1024 GB ขึ้นอยู่กับโปรเซสเซอร์ ทั้งนี้ในเบื้องต้น Red Hat Enterprise Linux ใช้ได้กับเวอร์ชวลแมชชีนของ OCI รุ่นล่าสุดที่ใช้โปรเซสเซอร์ของ AMD, Intel และ Arm

ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปิดตัว Red Hat Enterprise Linux on OCI และคำแนะนำการใช้งานทีละขั้นตอนได้ที่นี่  ส่วนการรับรองให้ใช้งานกับเซิร์ฟเวอร์ bare-metal ของ OCI ที่ให้ความเป็นส่วนตัวและประสิทธิภาพที่ดีเทียบเท่ากับระบบภายในองค์กร กำลังอยู่ในระหว่างดำเนินการ 

เกี่ยวกับ Red Hat Enterprise Linux

Red Hat Enterprise Linux มอบโครงสร้างพื้นฐาน Linux ที่ยืดหยุ่นและเสถียร เพื่อรองรับนวัตกรรมไฮบริดคลาวด์ ทำให้สามารถพัฒนา ปรับใช้ รวมถึงจัดการแอปพลิเคชันและเวิร์กโหลดที่สำคัญในการใช้งานจริง, แบบเวอร์ชวล ตลอดจนบนไพรเวทคลาวด์, พับลิคคลาวด์และที่เอดจ์ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกันมากขึ้น แพลตฟอร์มนี้สามารถรักษาความปลอดภัยและปฏิบัติตามข้อกำหนดให้กับโครงสร้างพื้นฐานได้ในขณะที่กำลังพัฒนา ทั้งยังช่วยให้การรักษาเสถียรภาพตลอดไลฟ์ไซเคิลการผลิตทำได้ง่ายขึ้น ทำให้องค์กรด้านไอทีสามารถทำงานด้วยแพลตฟอร์มที่ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานภายในให้มากขึ้นไม่ว่าจะเลือกใช้แบบใด ด้วยความมั่นใจและไว้วางใจได้มากขึ้น

เกี่ยวกับ OCI’s Distributed Cloud

ไม่ว่าจะเป็นคลาวด์ระบบใด ๆ ก็ตาม OCI’s Distributed Cloud จะช่วยให้ลูกค้าสามารถควบคุมตำแหน่งที่จัดเก็บข้อมูล พื้นที่และอำนาจหน้าที่ในการเข้าถึงข้อมูลได้ดียิ่งขึ้น ด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ :
มัลติคลาวด์: ความสามารถด้านมัลติคลาวด์ของ OCI เช่น Oracle Database Service for Microsoft Azure และ MySQL HeatWave ช่วยให้ลูกค้าเลือกผู้ให้บริการคลาวด์ที่เหมาะสมที่สุดที่จะใช้กับแอปพลิเคชันและฐานข้อมูลของตนได้

    • ไฮบริดคลาวด์: OCI ให้บริการไฮบริดคลาวด์กับระบบภายในองค์กรผ่าน Oracle Exadata Cloud@Customer และจัดการโครงสร้างพื้นฐานในกว่า 60 ประเทศ
    • พับลิคคลาวด์: ปัจจุบัน OCI เปิดดำเนินการใน 41 OCI regions ใน 22 ประเทศ และวางแผนจะเปิดเพิ่มอีก 9 แห่ง รวมถึง sovereign cloud regions สองแห่งในสหภาพยุโรป
    • Dedicated cloud: OCI จัดเตรียม dedicated regions สำหรับลูกค้าเพื่อรันบริการ Oracle Cloud ทั้งหมดในดาต้าเซ็นเตอร์ของตนเอง และ Oracle Alloy จะช่วยให้พันธมิตรสามารถปรับแต่งบริการคลาวด์ และเพิ่มประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้าของตนได้

คำกล่าวสนับสนุน

Ashesh Badani, senior vice president, head of Products, Red Hat

“Red Hat มุ่งมั่นที่จะมอบทางเลือกให้กับลูกค้า ตั้งแต่เรื่องของฮาร์ดแวร์ไปจนถึงผู้ให้บริการคลาวด์ ไม่ว่าจะเป็นการดำเนินการในดาต้าเซ็นเตอร์ของลูกค้าเอง บนพับลิคคลาวด์ต่าง ๆ หรือที่เอดจ์ การทำงานร่วมกันกับ Oracle ในการสนับสนุนอย่างเต็มรูปแบบสำหรับ Red Hat Enterprise Linux on OCI ตอกย้ำความมุ่งมั่นในการเสนอทางเลือกการปรับใช้ระบบคลาวด์ให้กับลูกค้าของเรา และเป็นการวางรากฐานให้กับโซลูชันอื่น ๆ ของ Red Hat ที่พร้อมให้บริการแก่ลูกค้า OCI ที่กำลังอยู่ระหว่างการทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน”

Clay Magouyrk รองประธานบริหาร Oracle Cloud Infrastructure

“ลูกค้าจำนวนมากใช้ทั้ง Red Hat และ OCI ในการดำเนินงาน และต้องการทางเลือกมากขึ้นในการใช้ดิสทริบิวเต็ดคลาวด์ ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปลูกค้าสามารถใช้ Red Hat Enterprise Linux on OCI ได้ตั้งแต่วันนี้ และได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือด้าน certified configurations เหล่านี้จากทั้ง Red Hat และ Oracle อย่างเต็มรูปแบบ เราจะร่วมมือกันขยายการทำงาน รวมถึงสนับสนุนผลิตภัณฑ์และเวิร์กโหลดบน Oracle Cloud Infrastructure (OCI) เพิ่มขึ้นอีกในอนาคต เพื่อให้ลูกค้าของเรามีทางเลือกมากขึ้น”

David Wood, global strategy lead, Accenture Cloud First

“แนวคิดเรื่องไฮบริดและมัลติคลาวด์กำลังกลายเป็นเรื่องปกติ ลูกค้าสามารถย้ายแอปพลิเคชันที่ใหม่กว่าไปยัง OCI ได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่ใช้งานได้ด้วย Red Hat Enterprise Linux on Oracle Cloud Infrastructure เป็นการช่วยเร่งความคิดริเริ่มในการเปลี่ยนแปลง และการตระหนักรู้ถึงคุณค่าได้เร็วขึ้นในท้ายที่สุด”

Robert Churchyard, global Oracle leader, IBM

“การปรับปรุงให้ทันสมัยเป็นสิ่งสำคัญในโลกของไฮบริด, มัลติคลาวด์ปัจจุบัน แต่ลูกค้าต้องการทางเลือกและความยืดหยุ่นในการทรานส์ฟอร์มที่มีความหมายอย่างแท้จริง ความร่วมมือของ Red Hat และ Oracle เป็นอีกหนึ่งทางเลือกให้กับลูกค้าในการเร่งปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ ให้ทันสมัย”

Vinod Sivarama Krishnan, CIO, Indus Towers

“Indus Towers ใช้ OCI อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจและแพลตฟอร์มการวิเคราะห์ของเรา และเพื่อปรับขนาดการทำงานของสภาพแวดล้อมแอปพลิเคชัน Oracle และดาต้าเบสของเรา  การสนับสนุนที่เพิ่มขึ้นของ Red Hat Enterprise Linux on OCI ช่วยเปิดทางให้ Indus Towers สามารถโยกย้ายสแต็กแอปพลิเคชันและเวิร์กโหลดสำคัญ ๆ ไปยังคลาวด์ได้โดยไม่ต้องปรับอะไรใหม่ จึงช่วยลดค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงด้านการพัฒนาและทดสอบลง ความสามารถใหม่นี้ช่วยให้ Indus Towers นำข้อได้เปรียบด้านการปรับขนาดการทำงานและความเชื่อถือได้ของ OCI ไปใช้กับ subset  ที่ใหญ่กว่าของแอปพลิเคชันสแต๊กของ Indus Towers ได้”

David Kerr, leader, Red Hat Global Strategic Alliance, Kyndryl

“เรายินดีที่ได้เห็น Oracle และ Red Hat ซึ่งเป็นพันธมิตรพันธมิตรระดับโลกนำเสนอทางเลือกในการใช้ Red Hat Enterprise Linux on OCI ให้กับลูกค้าได้มากขึ้น Kyndryl และ Red Hat ร่วมกันสนับสนุนลูกค้าเกือบ 900 รายทั่วโลก ที่เน้นความสำคัญของการสนับสนุนที่เชื่อถือได้บนสภาพแวดล้อมไอทีทุกประเภท เรายินดีนำเสนอให้ลูกค้าของเราใช้ Red Hat Enterprise Linux on OCI เป็นแพลตฟอร์มสำหรับการออกแบบ สร้าง จัดการ และปรับปรุงระบบไอทีที่สำคัญต่อภารกิจให้มีความทันสมัย”

[1]  Gartner. “Forecast: Public Cloud Services, Worldwide, 2020-2026, 4Q22 Update” December 20, 2022, Colleen Graham, Amarendra., Arunasree Cheparthi, Shailendra Upadhyay

ธุรกิจในเอเชียส่วนใหญ่วางแผนลงทุนด้านคลาวด์มากขึ้นในปี 2566

Alibaba Cloud Launches Carbon Management Solution

ธุรกิจในเอเชียส่วนใหญ่วางแผนลงทุนด้านคลาวด์มากขึ้นในปี 2566

    • สี่ในห้าของธุรกิจในเอเชียวางแผนย้ายไปใช้คลาวด์อย่างเต็มรูปแบบภายในปี 2567
    • ความปลอดภัย บริการด้านการสนับสนุนช่วยเหลือที่อยู่ภายในประเทศ และราคา ยังคงเป็นปัจจัยขับเคลื่อนการใช้พับลิคคลาวด์

อาลีบาบา คลาวด์ (Alibaba Cloud) ธุรกิจด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และหน่วยงานหลักด้านอินเทลลิเจนซ์ของอาลีบาบา กรุ๊ป เผยผลสำรวจล่าสุดที่สนับสนุนโดยอาลีบาบา คลาวด์ เรื่อง “The Next-Generation Cloud Strategy in Asia”  ที่ระบุว่าแปดสิบสี่เปอร์เซ็นต์ของผู้ใช้คลาวด์ในปัจจุบันคาดว่าจะลงทุนด้านคลาวด์เพิ่มขึ้นในปี 2566 ขณะที่มากกว่าสี่ในห้า (84%) กำลังวางแผนที่จะย้ายการดำเนินงานทั้งหมดไปยังคลาวด์อย่างเต็มรูปแบบภายในสองปี

การลงทุนด้านคลาวด์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

บริษัทต่าง ๆ ย้ายการดำเนินงานทางธุรกิจที่สำคัญของตนไปไว้บนออนไลน์มากขึ้นหลังการแพร่ระบาดเพื่อให้สามารถจัดการกับเวิร์กโหลดได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ส่วนธุรกิจในเอเชียที่ใช้บริการคลาวด์อยู่แล้ววางแผนเพิ่มการลงทุนด้านคลาวด์ให้กับแผนกลยุทธ์การใช้คลาวด์ที่หลากหลายในปีหน้า 

สำหรับประเทศที่มีแนวโน้มลงทุนเพิ่มขึ้น ได้แก่ ประเทศไทย (95%) อินโดนีเซีย (94%) ฟิลิปปินส์ (91%) เขตบริหารพิเศษฮ่องกง (83%) และสิงคโปร์ (83%) ขณะที่ผลสำรวจในญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ส่วนใหญ่ระบุว่า จะคงระดับการลงทุนในปัจจุบันนี้ไว้ต่อไป ทั้งนี้ในบรรดาอุตสาหกรรมหลักต่าง ๆ คาดว่าอุตสาหกรรมเกมจะมีการลงทุนด้านคลาวด์เพิ่มขึ้นมากที่สุด รองลงมาคืออุตสาหกรรมสื่อและโทรคมนาคม อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยี และบริการทางการเงินตามลำดับ

เมื่อระบุถึงลำดับความสำคัญในการลงทุน ธุรกิจในเอเชียจำนวนมากจะให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ข้อมูลและ AI (53%) คลาวด์คอมพิวติ้ง (52%) และระบบอัตโนมัติ (46%) การที่ธุรกิจมากกว่าครึ่งวางแผนที่จะเพิ่มการลงทุนด้านคลาวด์คอมพิวติ้ง เป็นการย้ำให้เห็นว่าโครงสร้างพื้นฐานคลาวด์ที่มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการเติบโตทางธุรกิจ

คุณเซลินา หยวน รองประธาน อาลีบาบา กรุ๊ป และประธานด้านธุรกิจระหว่างประเทศ อาลีบาบา คลาวด์ อินเทลลิเจนซ์ กล่าวว่า “การวิจัยล่าสุดเผยให้เห็นข้อมูลเชิงลึก ที่เป็นประโยชน์ต่อธุรกิจและผู้ให้บริการคลาวด์ในภูมิภาคเอเชีย คลาวด์เป็นเทคโนโลยีสำคัญที่ธุรกิจต้องใช้ก่อนอย่างอื่นเพื่อปูทางสู่ความสำเร็จ และลูกค้าของเราก็กำลังใช้กลยุทธ์คลาวด์ที่หลากหลาย เพื่อขับเคลื่อนการเติบโตของธุรกิจในยุคดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐานคลาวด์เป็นรากฐานสำคัญที่สุดที่สามารถรองรับนวัตกรรมล้ำสมัยต่าง ๆ เช่น generative AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เราจึงมุ่งมั่นให้บริการโซลูชันที่ใช้งานบนคลาวด์ซึ่งได้รับการพิสูจน์ประสิทธิภาพแล้ว ให้กับธุรกิจต่าง ๆ เสมอมา ไม่ว่าธุรกิจนั้นจะอยู่ในอุตสาหกรรมใดก็ตาม และเราสนับสนุนธุรกิจเหล่านั้นให้สามารถย้ายการทำงานไปยังบริการคลาวด์ต่าง ๆ ได้อย่างราบรื่น”

ธุรกิจมากกว่าสองในสาม (69%) ของผู้ตอบแบบสำรวจทั้งหมด มีการใช้คลาวด์มาแล้วอย่างน้อยที่สุดสามปี และในกลุ่มผู้เริ่มใช้คลาวด์เป็นกลุ่มแรก ๆ คือ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ญี่ปุ่น และสิงค์โปร์นั้น มีเพียงหนึ่งในห้า (20%) เท่านั้นที่ใช้บริการคลาวด์มาน้อยกว่าสามปี ผลสำรวจยังพบว่า อุตสาหกรรมอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยี, ภาคการผลิต และ บริการทางการเงิน เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่เชี่ยวชาญในการใช้คลาวด์มากที่สุด

อาลีบาบา คลาวด์ ได้มอบหมายให้ NielsenIQ ซึ่งเป็นบริษัทวิจัยตลาดระดับโลก ทำการสำรวจครั้งนี้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เข้าใจสถานะของการนำกลยุทธ์ไพรเวท พับลิค และ ไฮบริดคลาวด์มาใช้งานในภูมิภาคเอเชียได้ถ่องแท้มากขึ้น

การโยกย้ายไปยังคลาวด์อย่างเต็มรูปแบบภายในปี 2567

ผลสำรวจเผยให้เห็นว่า 84% ขององค์กรที่ตอบแบบสำรวจวางแผนที่จะย้ายไปใช้คลาวด์อย่างเต็มรูปแบบในอีกสองปีข้างหน้า ส่วนหนึ่งเพื่อตอบความต้องการใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการแพร่ระบาด โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามมากกว่าหนึ่งในสาม (36%) คาดว่าจะย้ายไปใช้คลาวด์อย่างเต็มรูปแบบในอีกหกเดือนข้างหน้า

ในบรรดาธุรกิจที่ทำการสำรวจพบว่า โควิด-19 ได้ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ไอทีอย่างมีนัยสำคัญ โดย 54% รายงานว่ามีการใช้ซอฟต์แวร์บนคลาวด์เพิ่มขึ้น และ 41% รายงานว่าองค์กรของตนกำลังเร่งย้ายไปใช้คลาวด์

กลยุทธ์สู่การใช้คลาวด์หลายประเภทมากขึ้น

จากการสำรวจพบว่า ไพรเวทคลาวด์ เป็นกลยุทธ์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในเอเชีย (40%) รองลงมาคือ พับลิคคลาวด์ (27%) ทั้งนี้ ปัจจัยหลักที่ทำให้ธุรกิจต่าง ๆ เลือกใช้พับลิคคลาวด์ คือคุณสมบัติที่โดดเด่น ด้านความปลอดภัย ความเชื่อถือในบริการด้านการสนับสนุนช่วยเหลือที่อยู่ภายในระเทศ และราคาที่สมเหตุสมผล โดย 38% ของธุรกิจที่ตอบแบบสำรวจคาดว่าจะเพิ่มการลงทุนมากกว่าหนึ่งในห้าในปีหน้า

ผลสำรวจจากผู้ตอบแบบสำรวจที่อยู่ในตลาดเอเชีย พบว่า เกาหลีใต้มีอัตราการใช้พับลิคคลาวด์สูงสุด (43%) และกลุ่มที่มีการใช้พับลิคคลาวด์ติดอันดับต้น ๆ ในปัจจุบันนี้ คือ ธุรกิจเกม ภาครัฐ ค้าปลีก รวมถึงอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยี  

ในขณะเดียวกัน การใช้ไฮบริดคลาวด์ก็กำลังพุ่งสูงขึ้น ผลสำรวจพบว่าการใช้ไฮบริดคลาวด์ในปัจจุบันเพิ่มขึ้นสุทธิ 7 percentage-point เมื่อเทียบกับการนำกลยุทธ์คลาวด์มาใช้ในครั้งแรกของผู้ตอบแบบสำรวจนอกจากนี้เมื่อสำรวจเรื่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์คลาวด์ ผลสำรวจพบว่า การเปลี่ยนไปใช้ไฮบริดคลาวด์มีสัดส่วนสูงสุดถึง 39% ทั้งนี้นอกจากคุณสมบัติด้านความปลอดภัยแล้ว ธุรกิจต่าง ๆ มักเลือกใช้ไฮบริดคลาวด์ กับ customized cloud services ต่าง ๆ ที่สามารถปรับให้ตรงกับความต้องการทางธุรกิจได้

คุณเซลินาได้กล่าวเสริมว่า “กลยุทธ์คลาวด์หลากประเภทที่ใช้ในเอเชีย บ่งบอกว่าธุรกิจจำนวนมากกำลังมองหาโครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง ยืดหยุ่น ปลอดภัย และคล่องตัว เพื่อให้ธุรกิจดำเนินงานในรูปแบบดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในฐานะผู้ให้บริการคลาวด์ชั้นนำ อาลีบาบา คลาวด์ ยังคงนำเสนอบริการด้านไฮบริดใหม่ ๆ ที่มีความปลอดภัย เพื่อตอบสนองความต้องการด้านนี้อย่างต่อเนื่อง”

เกี่ยวกับการสำรวจ

การสำรวจนี้จัดทำขึ้นระหว่างปลายเดือนกันยายนถึงต้นเดือนตุลาคม 2565 โดยรวบรวมความคิดเห็นผ่านแบบสอบถามออนไลน์จากผู้มีอำนาจตัดสินใจด้านกลยุทธ์คลาวด์ 1,000 รายในธุรกิจขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ที่กำลังใช้บริการคลาวด์ในตลาดเอเชีย 8 แห่ง ได้แก่ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ไทย ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้  ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นตัวแทนจากอุตสาหกรรมที่หลากหลาย ได้แก่ บริการทางการเงิน อุตสาหกรรมเกม อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยี ภาคการผลิต อุตสาหกรรมสื่อและโทรคมนาคม ภาครัฐ และภาคค้าปลีก

PropertyGuru Reports Fourth Quarter and Full Year 2022 Results

PropertyGuru Reports Fourth Quarter and Full Year 2022 Results

PropertyGuru Reports Fourth Quarter and Full Year 2022 Results

Revenues Grow 17% Year Over Year in the Fourth Quarter and 35% for the Full Year 2022

    • Total revenue grew 35% to S$136 million in 2022, with over 20% year on year growth in every segment
    • Adjusted EBITDA of S$14 million in 2022, up S$25 million from a loss of S$10 million in 2021
    • Marketplaces 2022 Adjusted EBITDA increased 2.6x over 2021

PropertyGuru Group Limited (NYSE: PGRU) (“PropertyGuru” or the “Company”), Southeast Asia’s leading[1] property technology (“PropTech”) company, today announced financial results for the quarter ended December 31, 2022. Revenue of S$40 million in the fourth quarter 2022 increased 17% year over year. Net loss was S$5 million in the fourth quarter and Adjusted EBITDA[2] was a positive S$5 million. This compares to a net loss of S$27 million[3] and Adjusted EBITDA loss of S$4 million in the fourth quarter of 2021. 

Management Commentary

Hari V. Krishnan, Chief Executive Officer and Managing Director, said “We are pleased with our results, as PropertyGuru performed well in the face of several transitory challenges that continue to impact our core markets. While rising interest rates and government credit intervention weighed on market activity, we remained resilient and delivered good growth by helping our customers navigate the challenges they faced and confirming the value add of our solutions in all phases of the real estate cycle.”

“Last year was a historic year for PropertyGuru, as we took the next step in our company’s evolution by listing on the NYSE. Going forward, we see great opportunity in 2023 and beyond as we continue to offer our customers differentiated solutions while looking to opportunistically deploy capital to accelerate the Company’s ongoing expansion. Sendhelper is a good example of a strategic acquisition we are excited about given the value it creates for our large audience base, and the underlying synergies between the companies,” Mr. Krishnan continued. “Rising rates, global inflation, and governmental fiscal activity are challenges that will need to be navigated in the near-term. We remain bullish on our ability to deliver value to our customers as we digitize the property ecosystem and bring transparency and efficiency. We believe that our markets in Southeast Asia will be at the forefront of future global growth.”

Joe Dische, Chief Financial Officer, added “PropertyGuru delivered strong 35% revenue growth in 2022[4], with all our segments performing well despite challenging operating conditions. We are pleased with how well our business responded, with proactive cost control actions contributing to a S$25 million year over year improvement in Adjusted EBITDA. Our actions in 2022 have laid the foundation for further revenue growth and improvements in operating performance. We continue to scale the business, accelerate the realization of our investments, and leverage the deployment of further growth capital.”

 Financial Highlights – Fourth Quarter and Full Year 2022

    • Total revenue increased 17% to S$40 million in the fourth quarter as compared to the previous year and increased 35% to S$136 million year over year.
    • Marketplaces revenues increased 15% to S$38 million in the fourth quarter as compared to the previous year and increased 34% to S$131 million year over year, as continued strength in Singapore and Malaysia offset challenges in the Vietnam market due to credit restrictions in the latter part of the year.
    • Singapore Marketplaces revenue increased 15% to S$19 million in the fourth quarter as compared to the previous year and increased 24% to $69 million year over year as a result of both increased Average Revenue Per Agent (“ARPA”) and an increase in overall agents. Quarterly ARPA was up 20% in the fourth quarter to S$1,076 as compared to the previous year and up 24% year over year to S$4,078 in 2022. In the fourth quarter, there were 15,529 agents with a renewal rate of 79% in the quarter.
    • Malaysia Marketplaces revenue increased 28% to S$8 million in the fourth quarter as compared to the previous year and increased 77% to $25 million year over year, as the Company continues to leverage our two market leading brands and benefit from the acquisition of the iProperty business in August 2021.
    • Vietnam Marketplaces revenue decreased 7% to S$6 million in the fourth quarter as compared to the previous year and increased 28% to S$24 million year over year, as governmental actions to tighten credit impacted the overall number of listings in the market. The number of listings was down 22% to 1.6 million in the fourth quarter as compared to the prior year quarter. The average revenue per listing (“ARPL”) was up 22% to S$25 in the fourth quarter as compared to the prior year quarter and up 8% to S$2.97 year over year.
    • At year-end, cash and cash equivalents was S$309 million.

Information regarding our operating segments is presented below.

 

 

For the Three Months Ended December 31

 

 

 

2022

 

2021

 

YoY Growth

 

 

 

(S$ in thousands except percentages)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Revenue

40,097             

 

34,329             

 

16.8%

 

Marketplaces

38,350

 

33,299             

 

15.2%

 

 

Singapore

18,805             

 

16,382             

 

14.8%

 

 

Vietnam

5,870             

 

6,304            

 

-6.9%

 

 

Malaysia

7,531               

 

5,888               

 

27.9%

 

 

Other Asia

6,144               

 

4,725               

 

30.0%

 

Fintech and data services

1,747          

               

1,030                  

 

69.6%

 

Adjusted EBITDA

4,829               

 

(4,149)            

 

 

 

Marketplaces

18,240             

 

6,321               

 

 

 

 

Singapore

11,441             

 

6,709               

 

 

 

 

Vietnam

722               

 

655               

 

 

 

 

Malaysia

3,429               

 

(2,026)            

 

 

 

 

Other Asia

2,648               

 

983            

 

 

 

Fintech and data services

(1,981)            

 

          (1,546)

 

 

 

Corporate*

(11,430)            

 

(8,924)            

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Adjusted EBITDA Margin (%)

12.0%

 

-12.1%

 

 

 

 

Marketplaces

47.6%

 

19.0%

 

 

 

 

Singapore

60.8%

 

41.0%

 

 

 

 

Vietnam

12.3%

 

10.4%

 

 

 

 

Malaysia

45.5%

 

-34.4%

 

 

 

 

Other Asia

43.1%

 

20.8%

 

 

 

Fintech and data services

-113.4%

 

-150.1%

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

For the Twelve Months Ended December 31

 

 

 

2022

 

2021

 

YoY Growth

 

 

 

(S$ in thousands except percentages)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Revenue

135,925

 

100,711

 

35.0%

 

Marketplaces

130,861

 

97,334

 

34.4%

 

 

Singapore

69,241

 

55,891

 

23.9%

 

 

Vietnam

24,040

 

18,767

 

28.1%

 

 

Malaysia

25,388

 

14,315

 

77.4%

 

 

Other Asia

12,192

 

8,361

 

45.8%

 

Fintech and data services

5,064

 

3,377

 

50.0%

 

Adjusted EBITDA

14,466

 

(10,372)

 

 

 

Marketplaces

63,045

 

23,746

 

 

 

 

Singapore

47,626

 

33,355

 

 

 

 

Vietnam

5,470

 

2,063

 

 

 

 

Malaysia

10,208

 

(10,440)

 

 

 

 

Other Asia

(259)

 

(1,232)

 

 

 

Fintech and data services

(7,385)

 

(4,634)

 

 

 

Corporate*

(41,194)

 

(29,484)

 

 

 

Adjusted EBITDA Margin (%)

10.6%

 

-10.3%

 

 

Marketplaces

48.2%

 

24.4%

 

 

 

 

Singapore

68.8%

 

59.7%

 

 

 

 

Vietnam

22.8%

 

11.0%

 

 

 

 

Malaysia

40.2%

 

-72.9%

 

 

 

 

Other Asia

-2.1%

 

-14.7%

 

 

 

Fintech and data services

-145.8%

 

-137.2%

 

 

 

                  

*Corporate consists of headquarters costs, which are not allocated to the segments. Headquarters costs are costs of PropertyGuru’s personnel that are based predominantly in its Singapore headquarters and certain key personnel in Malaysia and Thailand, and that service PropertyGuru’s group as a whole, consisting of its executive officers and its group marketing, technology, product, human resources, finance and operations teams, as well as platform IT costs (hosting, licensing, domain fees), workplace facilities costs, corporate public relations retainer costs and professional fees such as audit, legal and consultant fees. Certain elements of marketing expenses previously allocated to Corporate in the first quarter 2022 have since been moved to business segments in line with changes to internal reporting lines.

 Strong Category Leadership Drives Long-Term Growth Opportunities

As of December 31, 2022, PropertyGuru continued its Engagement Market Share[5] leadership in Singapore, Vietnam, Malaysia, and Thailand.

 Singapore: 81 % – 5.2x the closest peer                      Thailand: 58% – 2.5x the closest peer

Vietnam: 75% – 3.1x the closest peer             Indonesia: 22% – 0.3x the closest peer

Malaysia: 93% – 15.2x the closest peer

 Full Year 2023 Outlook

The Company anticipates full year 2023 revenues of between S$160 million and S$170 million and Adjusted EBITDA of between S$11 million and S$15 million. In the near-term, the integration and scaling of the Sendhelper acquisition is expected to negatively impact profitability by S$3 million to S$4 million in 2023. Beginning in the first quarter of 2023, the Company will no longer remove the ongoing cost of being a listed entity when calculating Adjusted EBITDA. For 2023, the Company anticipates that such costs will be between S$11 million to S$12 million. For 2022, such costs were S$11 million, and on this basis the Company’s full year 2022 Adjusted EBITDA would be S$3 million.

The following short-term factors may continue to impact the Company’s operations and warrant a conservative outlook in 2023: actions by the government of Vietnam to rein in the availability of consumer credit, residual political uncertainty in Malaysia, tightened residential policies in Singapore, a lack of clarity in global fiscal policy stemming from rising interest rates, greater inflationary pressures, and global supply chain issues. Longer-term, the Company remains bullish on its growth trajectory, prospects for improving profitability, and the fundamental opportunity that exists in our core markets.

Conference Call and Webcast Details

The Company will host a conference call and webcast on Wednesday, March 1, 2023, at 8:00 a.m. Eastern Standard Time / 9:00 p.m. Singapore Standard Time to discuss the Company’s financial results and outlook. The PropertyGuru (NYSE: PGRU) Q4 2022 Earnings call can be accessed by registering at:

https://propertyguru.zoom.us/webinar/register/WN_KYdeZj7TQzW-8UifD2sWAQ

An archived version will be available on the Company’s Investor Relations website after the call at https://investors.propertygurugroup.com/news-and-events/events-and-presentations/default.aspx

[1] Based on SimilarWeb data between July 2022 and December 2022.

[2] Included in the S$10 million of adjustments between net loss and Adjusted EBITDA in the fourth quarter of 2022 was a S$5 million depreciation and amortization expense.

[3] Included in the S$23 million of adjustments between net loss and Adjusted EBITDA in the fourth quarter of 2021 were a S$5 million depreciation and amortization expense, a S$7 million share grant and option expense, and S$7 million in business acquisition transaction and integration costs.

4 The full year ended December 31, 2022 includes results of the iProperty Malaysia and thinkofliving businesses which were acquired on August 3, 2021

[5] Based on SimilarWeb data between July 2022 and December 2022.